วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วัฒนธรรมสุรินทร์หาแนวทางอนุรักษ์เจรียง
นายอุทัย พลพวก วัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์กล่าวว่า เจรียงหรือจำเรียง เป็นวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านโบราณของจังหวัดสุรินทร์ เป็นเพลงของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเขมร มีบทร้องและทำนองที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ปัจจุบันการแสดงประเภทนี้นับวันจะหาชมยาก และมีผู้สืบทอดน้อยลงทุกวัน จึงมีแนวคิดที่จะร่วมกันกับผู้มีความรู้ นักวิชาการและผู้ที่อยู่ในสายวัฒนธรรม หาแนวทางที่จะสืบทอดการแสดงพื้นบ้านนี้ให้เยาวชนและคนทั่วไปได้รู้จัก ในขั้นต้นอาจจะมีการบรรจุการแสดงเจรียง เข้าไปในหลักสูตรการเรียนการสอน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
วิเคราะห์ “จาลวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 23 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 15 อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต วรรคที่ไม่สงเคราะห์เข้าในปัณณาสก์
วิเคราะห์ “จาลวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 23 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 15 อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต วรรคที่ไม่สงเคราะห์เข้าในปัณณาสก์ บทนำ “จาล...
-
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 พระราชวัชรสารบัณฑิต หรือ “เจ้าคุณประสาร” รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(...
-
วิจารณ์สนั่นหลักสูตรบาลีป.ธ.1-2 ถึงป.ธ. 9 เรียนพระไตรปิฎก 149 หน้า "เจ้าคุณหรรษา" ยกสามเณร 2 รูป หนึ่งจบ ป.ธ. 9 อายุ 17 ปี หนึ่งจบ...
-
พระปิดตายันต์ยุ่งมหาอุตโม หลวงปู่ทิม อิสริโก จัดสร้างเพื่อหารายได้ สร้างหอฉันอุตตโม ออกแบบโดยช่างเกษม มงคลเจริญ ประกอบด้วย เนื้...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น