บทที่๒-๒.๑.๓ สภาพปัญหาการใช้สื่อออนไลน์ในการเผยแผ่ของพระสงฆ์
"บิ๊กตู่" ปลุกคนไทยรู้เท่าทันสื่อ ไม่เป็นเหยื่อ "โลกโซเชียล" http://www.banmuang.co.th/news/crime/82786 วันนี้ (9 มิ.ย.) พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กล่าวในรายการ “ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ว่า สำหรับการใช้ “สื่อโซเชียล” เห็นว่าควรสร้างกระบวนการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกันตัวเอง สำหรับการใช้ชีวิตในยุคโลกาภิวัฒน์ ใช้สติปัญญา มีวิจารณญาณที่ดีไม่ตกเป็น “เหยื่อ” ของการปลุกระดมความขัดแย้ง ถูกใช้ประโยชน์โดยคนบางกลุ่มที่อาจจะมีเจตนาไม่บริสุทธิ์ เป็นเหยื่อของการหลอกลวง การลงทุนแชร์ลูกโซ่ การซื้อขายของที่ไม่มีคุณภาพ มีการโฆษณาเกินจริง การสร้าง “จุดขาย” ยกให้เป็น “ไอดอล” ของคนบางประเภท ทั้งที่ไม่เหมาะสม และสร้างค่านิยมผิด ๆ ทำให้สังคมไทยมีปัญหา นำไปสู่ “สังคมที่เสื่อมทราม" ส่วนการสื่อสารระดับชาติ ที่มีสื่อมวลชนเป็น “ตัวกลาง” เราต้องยอมรับความจริง และต้องให้ความสำคัญทั้งในเรื่อง “ความเป็นกลาง” และ “ความน่าเชื่อถือ” ของสื่อฯ โดยต้องวิเคราะห์ก่อนเสมอ ที่น่าเป็นห่วงกว่านั้นคือ “วิจารณญาณ” และ “จรรยาบรรณ” ในการทำหน้าที่ของสื่อ
เราต้องหันมาให้ความสำคัญกับ “การสื่อสารสร้างชาติ” ให้มากขึ้น ในทุกระดับ โดยเริ่มจากสถาบันพื้นฐานทางสังคม บ้าน-วัด-โรงเรียน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับสังคม คือ “ความรู้คู่คุณธรรม” ไม่ให้กลายเป็นสังคมที่สื่อสารกันอย่างไร้สาระ ผิดเพี้ยน เกิดความมักง่ายในการใช้ภาษา และการสื่อสาร อีกทั้งในการเสพสื่อนั้น อยากให้คนไทยได้คิดและตัดสินใจด้วยปัญญา หาข้อมูลสนับสนุนเพิ่มเติมรอบด้าน ใช้ “การคิดวิเคราะห์” พิจารณาให้ครบถ้วน ไม่ใช่เอาผลประเมินเล็กน้อย มาทำให้กระบวนการมีปัญหา เสียรูปขบวน วันนี้เราต้องคิดแบบมีวิสัยทัศน์ ลงรายละเอียดในทุกประเด็นของปัญหา เพื่อแก้ไขปัญหา ซึ่งทุกอย่าง มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันเป็น “ห่วงโซ่” ดังนั้น เราต้องบูรณาการกัน รวมถึงสื่อแขนงต่าง ๆ ก็เป็นส่วนหนึ่ง ที่สามารถช่วยให้การแก้ปัญหาของประเทศ ประสบความสำเร็จได้ สื่อมวลชนจะต้องตระหนัก และกำหนดบทบาท สร้างคุณค่าให้กับองค์กร ว่าจะทำร้ายประเทศ ทำลายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือจะสร้างสรรค์สังคม
ขณะเดียวกัน คณะกรรมการประสานงานแผนยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา(คปพ.) เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2561 เพื่อให้การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาระยะปี 2560-2564 บรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งมีโครงการเชิงยุทธศาสตร์ จำนวน 14โครงการ ประกอบด้วย 1.โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาสู่สังคม 2.โครงการยกระดับหมู่บ้านรักษาศีล5 3.โครงการวิปัสสนากรรมฐานเพื่อพัฒนาทุนมนุษย์ 4.โครงการยกระดับการศึกษาพระปริยัติธรรม 5.โครงการส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือ ข่าย 6.โครงการพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 7.โครงการนวัตกรรมเชิงพุทธ 8.โครงการยกระดับขีดความสามารถศาสนบุคคล 9.โครงการศูนย์รวมองค์ ความรู้ด้านพระพุทธ ศาสนา 10.โครงการบริหารศาสนสมบัติระบบการเงิน-บัญชี 11.โครงการสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคม12.โครงการพระพุทธศาสนา4.0ฐานข้อมูลศาสนบุคคล (Smart Card) 13.โครงการวัดสร้างสุขด้วยกิจกรรม 5 ส และ14.โครงการพุทธมณฑลเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก(มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ https://www.dailynews.co.th/education/600437) นั่นก็แสดงให้เห็นว่ามหาเถรสมาคมให้ความสำคัญกับการสื่อสารออนไลน์ โดยมองเห็นโทษของข้อมูลที่เผยแพร่ทางโลกดิจิตอลนั้นมีลักษณะเป็นมารคือมีทั้งจริงและไม่จริงเป็นภัย จะทำ อย่างไรที่จะเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นข้อมูลเชิงบวกที่เป็นประโยชน์ขึ้นไปในกระแสโลกดิจิตอลบ้าง (พระพรหมบัณฑิต - ไป" -เปิด"กงล้อชีวิตพระพรหมบัณฑิต"ถามหาคำพูดที่ยูเอ็น http://www.banmuang.co.th/news/education/91049) (แนวทางก็คือจะต้องมีการร่วมมือของชาวพุทธเป็นลักษณะเครือข่าย) ด้วยเหตุนี้มหาจุฬาฯจึงได้ลงทุนงบประมาณเป็นจำนวนมากด้านเทคโนโลยีเพื่อรองรับการจัดการศึกษา กิจกรรมการเรียนสอน ทั้งสื่อการสอน การสอนและประชุมทางไกล ประกอบกับปัจจุบันเทคโนโลยีถูกลงมาก มหาจุฬาฯ จึงมุ่งที่จะนำพระไตรปิฏกฉบับสากล (Common Buddhist Text: CBT) มาพัฒนาต่อยอดเป็นสหบรรณานุกรม (Union Catalog of Buddhist Text:UCBT) โดยการสร้าง โปรแกรมดิจิตอล เพื่อแปรข้อมูลพระไตรปิฏกฉบับต่างๆ ทั้งเถรวาท มหายาน และวัชรยาน เป็นระบบดิจิตอล ซึ่งจะทำให้ชาวโลกสามารถ Search Engine เข้าถึงเนื้อหาที่เชื่อมโยงถึง กันเหมือนกัน Google" พระพรหมบัณฑิตระบุ พระมหาหรรษา ธัมมหาโส ผู้ช่วยอธิการบดี มจร ฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวจการวิทยาลัยพระพุทธศาสตร์นานานาชาติและหลักสูตรสันติศึกษา ได้กล่าวว่า ปัญหาที่ตามมาใน ยุคดิจิทัลก็มีมาก มายเช่นกัน เราใช้การสื่อสารเพื่อเชื่อมกัน แต่นับวันความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และสังคมเริ่มเหินห่างกันมากยิ่งคนสนใจดิจิทัลแต่ไม่สนใจชีวิตของกันและกัน คนชอบที่จะเสพ มากกว่าที่จะคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ข้อมูลที่ท่วมทันแต่อยากที่จะแยกแยะอันไหนจริงและปลอม คนในสังคมจึงขัดแย้งเพราะข้อมูล และใช้ข้อมูล หรือบิดเบือนข้อมูลใส่ ร้ายด้วยข้อมูลที่ เป็นเท็จ โดยการสื่อสารที่ก่อให้เกิดความเกลียดชังกัน ทางออกที่สำคัญคือ คือ การนำข้อมูลที่มากหมายและหลากหลายมาสร้างมูลข้อเพิ่ม Big Data จะไม่มีประโยชน์อันใด หากมนุษย์ไม่สามารถนำมาสร้างมูลค่า "เพิ่มและต่อยอดให้เกิดการพัฒนาในเชิงบวก ในยุคดิจิตอลที่หมู่คนเห็นแก่ตัว ว้าเหว่ และเปลี่ยวเหงา และแปลกแยกกันในสังคม เราจึงควรใช้จุดเด่นเรื่องจิตใจของพระพุทธศาสนาไป พัฒนา และดูแลจิตใจ โดยการพัฒนาจิตใจให้ทัน และมองดิจิตอลแบบเสริมมูลค่ามนุษย์ แทนที่จะลดทอนคุณค่าของมนุษย์ โดยพัฒนาจาก Digital Mind ไปบูรณาการเชื่อมสมานโลก ในยุคดิจิตอล (Digital World) โดยใช้ทั้งสติกับสมาธิเข้ามาช่วยเติมจิตใจที่แปลกแยก ขาดชีวิตชีวาเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกัน แบ่งปัน (Caring&Sharing) ความสุขและความทุกข์ของกัน และกันตลอดไป" พระมหาหรรษา กล่าว (มส.หวั่นโพสต์มารว่อนสร้างเครือข่ายพุทธต้าน http://www.banmuang.co.th/news/politic/90892) ทั้งนี้พระพรหมบัณฑิต ได้กล่าวในทีประชุมว่า ในโลกปัจจุบันเป็นยุคแห่งการใช้เทคโนโลยีเราจะใช้ประโยชน์อย่างไร ? จากเทคโนโลยี จะนำเทคโนโลยีมาช่วยในการเผยแผ่ธรรมะอย่าง ไร? ให้เกิดสติและปัญญา(มส.แนะชาวพุทธใช้ไอทีช่วยแผ่ธรรมะให้เกิดปัญญา http://www.banmuang.co.th/news/education/91126) ศีลข้อที่ 4 "เป็นหลักประกันสังคม" การพูดการสื่อสารที่สร้างความสามัคคี เพราะอาวุธที่ร้ายแรงที่สุด คือ วาจา พูดที่ทำให้เกิดความเกลียดชังกัน ต่างคนต่างพูดในสิ่งที่ ไม่ดีของคนอื่น ก็ เกลียดชังกัน แม้แต่ระดับบ้านเมือง ก็มีการทำร้ายกันด้วยคำพูด วาจาสร้างความเกลียดกัน พระพุทธเจ้าจึงสอนเรื่องการสื่อสารเพื่อสันติ คือ " จริง ไพเราะเหมาะกาล ประสานสามัคคี มีประโยชน์ ประกอบด้วยเมตตา พระราชวรเมธี,ดร. รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย( มจร ) ("มจร-สอศ."ใส่ใจวัยใส ชูศีล 5 สร้างภูมิป้องเฮดสปีด http://www.banmuang.co.th/news/education/89082) พระพรหมบัณฑิต ครู มจร 4.0 พุทธคุณ ๓ เก่งปัญญาคุณ ดี กรุณาคุณ มีสุข วิสุทธิคุณ ด้วย ๔ ส "แจ่มแจ้ง จูงใจ แกล้วกล้า ร่าเริง เพื่อพัฒนาแบบ "พอเพียง มีวินัย สุจริต และจิตอาสา" มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน พันธกิจของครู คือ สอนให้รู้ (ปริยัติ) ทำให้ดู (ปฏิบัติ) อยู่ให้เห็น ( ปฏิเวธ) (มส.ปลื้ม!ผลผลิตครู"มจร"ครบ"เก่ง ดี มีสุข" http://www.banmuang.co.th/news/education/86471) พระโสภณธรรมวาที ต้นแบบพระธรรมกถึก พระนักเทศน์ต้อง " ฝืน ฝึก ฝน " เราต้องค้น ต้องคิด ต้องเขียน ต้องพากพียร ต้องปฏิบัติ และต้องมี 5 บ. คือ " บริเวณ บริวาร บริขารบริกรรม บริการ และอย่าตัด 7 ต้น คือ " ต้นแบบ ต้นบุญ ต้นทุน ต้นคิด ต้นน้ำ ต้นไม้ ต้นตระกูล (มส.ยันหน้าที่ชาวพุทธชี้แจงคนโจมตีว่าร้าย http://www.banmuang.co.th/news/education/85751 แนะสร้างบทบาท"วัด-พระ"ใหม่สอดรับสังคมยุคดิจิทัล ลดบทบาท "เสก เป่า เงินทอน โพนทนา" http://www.banmuang.co.th/news/education/83371 สมเด็จฯประยุทธ์แนะเร่งทำพระไตรปิฏกดิจิทัลช่วยโลก http://www.banmuang.co.th/news/education/82802 วิจัย'มจร'ปลื้มเณร!ใช้มือถือถูกที่ถูกเวลา http://www.banmuang.co.th/news/education/82768 พระมหาหรรษา ธัมมหาโส (นิธิบุณยากร) ผู้ช่วยอธิการบดี มจร ฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการหลักสูตรสันติศึกษา,วิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ(IBSC) ,สำนักงาน เลขานุการ(IABU) บรรยายถวายความรู้เรื่อง "ประสบการณ์ในการอยู่ต่างประเทศ" วิกฤตของโลก คือโอกาสของเรา(1) โลกดิจิทัล มนุษย์สมัยใหม่ โลกแห่งการแชร์ ไม่ต้องการครอบครอง หรือเป็นเจ้าของ แต่ต้องการใช้ของที่ดีที่สุด พระพุทธศาสนาคือของที่ดีที่สุด สอนให้ไม่ต้องการให้ครอบครองหรือไม่ต้องการให้เป็นเจ้าของ(2) โลกสมัยใหม่ โลกของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุล้น โลก เกิดน้อยกว่าตาย ผู้สูงอายุโดดเดี๋ยว ต้องการที่พึ่งพิง ต้องการโลกหน้า สนใจการความสงบ ความการเรื่องของภาพกายใจ (3) โลกกำลังเข้าสู่สงครามและความรุนแรง เป็นยุคมิคสัญญี ใช้ความรุนแรงในการจัดการความขัดแย้ง ขาดความอดทน ไม่สนใจเพื่อนรอบข้าง (4) โลกพึ่งพาเทคโนโลยี สนใจโทรศัพท์มากกว่าคนใกล้ตัว และพึ่งพาปัจจัยภายนอก เปลี่ยวเหงา เข้าไม่ถึงความสุขภายใน (5) โลกวัตถุนิยม เสพจนเซ เสพจนสำลัก เสพจนหัวปักหัวปำ กามสุขัลลิกานุโยค จนหนีไปปีนเขา ปฏิเสธวัตถุ ปล่อยวางวัตถุ หันไปหาความหมายของชีวิต (6) ผู้นับถือศาสนาเทวนิยมในโลก กำลังเผชิญหน้ากัน กลุ่มหนึ่งตีความศาสนาไปรับใช้วัตถุนิยม กลุ่มหนึ่งตีความศาสนาไปสนองตอบต่อสงครามและความรุนแรงศาสนาพุทธคือทางสายกลาง โอกาสของเราคืออะไร?? โลกต้องการสติ โลกต้องการสมาธิ โลกต้องการสันติ เรียนรู้กรรมฐาน ฝึกสมาธิ พัฒนาสติ ให้พอเพียง แล้วหยิบยื่นสิ่งที่เขาต้องการ สิ่งที่เขาโหยหา สิ่งที่เสริมสร้างคุณค่าภายใน เราจึงพัฒนาหลักสูตรพวกนี้ จับมือกับยุโรปอเมริกา ทำเรื่องพวกนี้ ฮังการี อังกฤษ นาโรปะหัวใจสำคัญในการทำงานพระธรรมทูตคือ "ปริยัติยอด ปฏิบัติเยี่ยม เปี่ยมกรุณา หยิบยื่นพุทธปัญญาแก่ชาวโลก" โดยการส่งสารแห่งสันติสุขแก่ชาวโลก ตามพุทธปณิธานที่ว่า "เธอทั้งหลาย จงเที่ยวไป เพื่อความเกื้อกูน เพื่อความสุข เพื่อ อนุเคราะห์ชาวโลก" - แนะพระธรรมทูตยุคดิจิทัลร่วมสร้างโลกสันติhttp://www.banmuang.co.th/news/education/81688 มีผลงานวิจัยระบุชัดเจนว่า หากพระสงฆ์ล้าหลังเรื่องเทคโนโลยีหรือไม่มีการปรับตัวนำเทคโนโลยีไปใช้ก็อาจจะเป็นไปได้ว่าพระพุทธศาสนามีโอกาสที่จะค่อยๆ เลือนหายไปจากสังคมสมัย ใหม่ที่ผู้คนส่วนใหญ่อยู่ในโลกอินเทอร์เน็ต หากปรับตัวอย่างเช่นพระนักเผยแผ่ธรรมะรูปหนึ่ง มีรูปแบบและวิธีการนำเสนอเนื้อหาที่แตกต่างกันไป เพราะได้แสดง บทบาทในฐานะนักสื่อสารมวลชน มีการบูรณาการเนื้อหาสาระให้เข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบันและใช้สื่อออนไลน์ให้เกิดประโยชน์(กระบวนการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพระสงฆ์ในสังคมไทย https://info.rdi.ku.ac.th/ThailandResearch/?itemID=819903 พระอักขราภิศุทธิ์ ลูนละวัน [หัวหน้าโครงการ] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) ยังมีผลการวิจัยระบุด้วยว่า พฤติกรรมการใช้งานเฟซบุ๊กของพระสงฆ์นั้นพบว่า การใช้ที่ไม่เหมาะกับกาลเทศะและไม่สอดคล้องกับสถานภาพและบทบาท ถือว่าเป็น พฤติกรรมการใช้ที่น่า กังวลมากที่สุด อย่างไรก็ตามสังคมต้องการเห็นการใช้ด้วยความสำรวม ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบพระวินัยและตระหนักรู้ถึงความคาดหวังทางสังคมอยู่ตลอด เวลา(พฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กของพระสงฆ์ไทย https://www.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/…/view/93422) การเขียนวิทยานิพนธ์ล้อตามโมเดลโดยเอาพุทธขึ้นก่อนตามด้วยแนวคิดอื่นตามด้วยกรณศึกษาคือสงฆ์ถามข้อมูลจากปิยวัฒน์มีการเผยแพร่หรือไม่ดูหนังสือพระสงฆ์ กับการเมืองหรรษามีองค์ประกอบอื่นๆค่อยใส่เข้าไป พุทธเริ่มด้วยมรรค๘สัมมาวาจา โอวาทปาฏิโมกข์ อนูปวาโท ศีล ๕ มุสา ปิสุณ ผรุส สัมพัปลาปะก็คือวาจาสุภาษิต จริง ไพเราะ เหมาะกาล ประสานผลประโยชน์ ประกอบด้วยเมตตาเป็น สาราณียธรรม เมตตาวจีกรรม เป็นสิ่งที่ก่อนให้เกิดความเจริญในอปริยหานียธรรม เป็นสิ่งที่เป็นมงคลสูตร๓๘ เป็นอุปกรณ์ในการผูกมิตร ขณะเดี่ยวกันหากใช้วาจาไม่ชอบก็จะเป็นมิจฉาวาจา เป็นสิ่งที่พุทธเจ้าทั้งหลายไม่แนะนำ เป็นการละเมิดศีลข้อ๔สำหรับสามเณร แม่ชี อุบาสกอุบาสิกา สำหรับพระภิกษุถ้าใช้วาจาอวดอุตรต้องอาบัติปาราชิก สังฆาธิเสส เป็นพุทธสันติวิธีในการแก้ปัญหาความขัดแย้งรุนแรงและสงครามทั้งแนวทูตสันติและกระบวนการยุติธรรมเชิงสันติต่างก็ใช้วาจาแทบทั้งสิ้น การสร้างมูลค่ายุค๔.๐เป็นการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์สันติภาพ ประโยชน์ทั่วไปและสร้าสันติภาพ คุณธรรมหลักและเสริม ธรรมชาติของข่าว Smcmr Sมีคุณธรรมคือปัญญาจินตามยและภาวนามย เมตตากรุณา สติ โลกวิธู จักขุมา Mเนื้อหา 5w1h วาจาสุภาษิต Cช่องทางอายตนในนอก Mวจีสุจริต สัมมาวาวา พุทธลีลา เทศน์ โค้ช แหล่ อบรมเชิงปฏิบัติการ สอน Rสติ ขันติ สุตมย โยนิโส ๑๐ ปฏิจจ การสื่อสารเพื่อสันติ สุ จิ ติปุ ลิ bpscinewsmodel เมื่อการสื่อสารไม่เข้าถึง แล้วจะสร้างความเข้าใจแล้วนำไปสู่การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ก็ต้องดูว่าการสื่อสารของพระสงฆ์ในสังคมไทยปัจจุบันได้เข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายในยุคดิจิตอลได้มากน้อยเพียงใด และจะเป็นการสื่อสารมวลชนที่เป็นการสื่อสารที่ทรงพลังหรือไม่ แล้วเป็นไปตามพระพุทธพจน์ที่ว่าพหุชนหิตายหรือไม่ มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ https://www.dailynews.co.th/education/600437 วันนี้(25 ก.ย.)นายประดับ โพธิกาญจนวัตร โฆษกสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(พศ.) เปิดเผยว่า จากการประชุมมหาเถรสมาคม(มส.) เมื่อเร็วๆนี้ ที่ประชุมได้ เห็นชอบตามที่คณะกรรมการประสานงานแผนยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา(คปพ.) เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2561 เพื่อให้การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาระยะปี 2560-2564 บรรลุวัต20:40 14/2/2562ถุประสงค์ ซึ่งมีโครงการเชิงยุทธศาสตร์ จำนวน 14โครงการ ประกอบด้วย 1.โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาสู่สังคม 2.โครงการยกระดับหมู่บ้านรักษาศีล5 3.โครงการวิปัสสนากรรมฐานเพื่อพัฒนาทุนมนุษย์ 4.โครงการยกระดับการศึกษา พระปริยัติธรรม 5.โครงการส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย 6.โครงการพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 7.โครงการนวัตกรรมเชิงพุทธ 8.โครงการยก ระดับขีดความสามารถศาสนบุคคล 9.โครงการศูนย์รวมองค์ความรู้ด้านพระพุทธศาสนา 10.โครงการบริหารศาสนสมบัติระบบการเงิน-บัญชี 11.โครงการสาธารณ สงเคราะห์เพื่อสังคม12.โครงการพระพุทธศาสนา4.0ฐานข้อมูลศาสนบุคคล (Smart Card) 13.โครงการวัดสร้างสุขด้วยกิจกรรม 5 ส และ14.โครงการพุทธ มณฑลเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก รูปแบบการบริหารสื่อของคณะสงฆ์เฟซบุ๊ก พระปราโมทย์ ละเอียดประเด็นดี เนื้อหาเยี่ยมโปรยใช้ได้ พัฒนาด้านการดึงประเด็นมาพาดหัว พระมหาหรรษา กระชับ พาดหัวได้ เพิ่มโปรย Post news มจร ฮิ้นข่าวได้ เพิ่มเนื้อหาและลักษณะของข่าวรายละเอียด พระธรรมทูต อินเดียเยี่ยมเนื้อหาประเด็นใช้ได้ พาดหัวดี แต่เพิ่มโปรย ยุโรปยังมุ่งสร้างภาพ อเมริกาฮิ้นข่าวได้ แต่ยังมุ่งสร้างภาพ สำนักพระธรรมทูต่างประเทศวัดสระเกศทำได้ดีมีลักษณะเป็นเว็บข่าว สำนักพระสังฆราชรายละเอียดดี เพิ่มพาดหัวโปรย กลุ่มประชาสัมพันธ์พศ.เนื้อเป็นการรายงาน ไม่ลักษณะของการเขียนข่าว ควรปรับปรุงตั้งตั้งพาดหัวโปรยโดยดึงประเด็นมาชู ธรรมจาริกภาคเหนือ วัดยานนาวา ควรเรียบเรียงใหม่ พาดหัวโปรย ตามลักษณะของการเขียนข่าว พระเมธีธรรมาจารย์ เนื้อหาพาดหัวมี แต่เพิ่มโปรย และเพิ่มความถี่ตามกาลของข่าว พระว.เนื้อหายังใช้งานด้านข่าวไม่ได้ เพราะมุ่งแจ้งเพื่อทราบเตือนสติ พระไพศาลเนื้อหากระชับมุ่งเตือนสติ เพิ่มพาดหัวโปรยเชิงข่าวในประเด็นที่เป็นข่าวจะดีมาก พระพุทธทาสเน้นหมายข่าว เมื่อมีงานควรเขียนเป็นข่าเผยแพร่ ศิษย์ธรรมกาย มีลักษณะของข่าว แต่ควรจะเพิ่มความหลากหลายในกิจกรรมที่เป็นประเด็นข่าวอย่างเช่นการสัมมนา พระครูวิมลธรรมแสง เนื้อหาเฉพาะด้านโซล่าเซล ถ้าได้ทักษะเขียนข่าวจะดีมาก วัดประยูร เป็นลักษณะแจ้งกิจกรรมที่เกิดขึ้น ควรเพิ่มเนื้อหาของการบรรยายและเขียนเป็นลักษณะของข่าวจะดีมาก ดังนั้นลักษณะของการเขียนข่าวที่ดีคือ ประเด็นดี เนื้อหาเยี่ยมพาดหัวโดน เครือข่ายอื้อ รูปแบบการบริหารสื่อของคณะสงฆ์ การบริหารแบบเอกเทศ มจร มมร. วัด รวมศูนย์ มส.ฝ่ายเผยแผ่ กระจายอำนาจ ภูมิภาค ส่วนกลาง ผสมผสาน รวมศูนย์กับกระจายอำนาจ ช่วยเหลืออุปถัมภ์ มีแผนปฏิบัติการชัดเจนไม่ชัดเจน มีบอร์ดคุม งบประมาณ รัฐ ศรัทธา คน อุปกรณ์จัดหาเอง ตัวอย่าง ทีวีดาวเทียม มจร วัดยานนาวา เว็บ มจร มมร พระว. ไพศาล พระพยอม สมเด็จพระสังฆราช รูปแบบที่สำเร็จและล้มเหลว รูปแบบการส่งเสริม ภาครัฐ งบประมาณ คน งาน ความคิด เอกชน สำนักข่าวรับข่าวไปเผยแพร่ต่อ ส่วนบุคคลงบประมาณ คุยสั้นๆ กับ ‘ชัยวัฒน์ สถาอานันท์’ ขัดกันฉันมิตร การอยู่ร่วมที่เราต่าง (ต้องเรียนรู้) ศูนย์ข่าวสารสันติภาพ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทักษะวัฒนธรรมคืออะไร? ศ.ดร.ชัยวัฒน์ : ทักษะวัฒนธรรม คือความพยายามที่จะนำเอาอคติที่เรามีอยู่ซ่อนอยู่ไม่รู้ตัวเนี่ยออกมาวางให้เห็น โลกของความขัดแย้ง เพื่อป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งนำไปสู่ความเกลียดชังและความรุนแรง ท่ามกลางสังคมที่ประกอบไปด้วยคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย แต่ต้องอยู่ร่วมกันภายใต้ความคิด ความเชื่อ ความทรงจำที่แตกต่างกัน การเผชิญหน้าและปะทะสังสรรค์ในทางความความคิดนั่นคือ “ความขัดแย้ง” ของ “การอยู่ร่วม” ที่จะขับเคลื่อนสังคมไปข้างหน้า โดยไม่จำเป็นต้องอยู่กับความเงียบสงบ หรือสยบยอม และไม่จำเป็นต้องไม่ใช่ความรุนแรง นั่นคือ “ทักษะวัฒนธรรม” ที่เราทุกคนจะต้องเรียนรู้ https://www.citizenthaipbs.net/node/18618 มส.แนะธรรมนิเทศต้องผลิตสื่อมวลชนของสงฆ์ http://www.banmuang.co.th/news/education/89815 วันที่ 4 ก.ย.2560 พระพรหมบัณฑิต, พระพระพุทธเจ้าเป็นผู้ก่อตั้งถือว่าเป็นการประดิษฐกรรม Invention เราอย่าคิดคำสอนใหม่ที่ไม่พื้นฐาน มีการตีความผิด ๆ เราไม่ต้องประดิษญ์คำสอนใหม่ แต่เราสามารถเป็นนวัตกรรม ใครก็ตามที่นำมาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้นเหมาะสมกับสังคมด้วยการประยุกต์บูรณาการ ทำให้น่าสนใจ มากขึ้น เรียกว่า นวัตกรรม วิปัสสนากรรมฐานเป็นนวัตกรรม ท่านติช นัท ฮันห์ นำเสนอการภาวนาให้เหมาะกับคนในสังคมปัจจุบัน ถือว่าเป็นนวัตกรรม นิสิตบัณฑิตทุกสาขามกาจุฬาจะทำวิจัยเรื่องใดก็ตามจะต้องเป็นมีนวัตกรรม ถือว่าเป็นบูรณาการศาสตร์สมัยใหม่ เราต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ สาขาธรรมนิเทศมีคนเรียนน้อยเพราะขาดนวัตกรรม ต้องเป็นไปเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ จะต้องนำเทคโนโลยีมาช่วยในการเผยแผ่ นำศาสตร์นิเทศ เป็นนิเทศศาสตร์เพื่อการเผยแผ่ สงฆ์เราอ่อนแอ่เพราะเราขาดนิเทศศาสตร์ ต้องมีการเชื่อมธรรมะกับนิเทศศาสตร์เป็นการบูรณาการ เรียนจบต้องสามารถเป็น สื่อมวลชนของสงฆ์ มิใช่มาเรียนเรื่องเทศน์เท่านั้น ส่วนสันติศึกษาเรียนแล้วต้องใจกว้าง ทุกมิติทางศาสนา พูดคุยกับบุคคลที่มีความต่าง รับฟังกันและกัน ไม่คลั่งศาสนาของตน สันติศึกษากับปรัชญาจึงไปด้วยกัน สิ่งสำคัญทุกหลักสูตรต้องมีนวัตกรรม งานวิจัยต้องมี 4 นวัตกรรม คือ " ด้านผลผลิต ด้านการบริการ ด้านกระบวนการ ด้านการจัดการ " งานวิจัยต้องสอดคล้องกับด้านใดด้านหนึ่งให้ได้ 1)นวัตกรรมด้าน การผลผลิต คือ การนำเอาองค์ความรู้ในอภิธรรมปิฏกและวิธีปฏิบัติกรรมฐานมาบูรณาการเข้ากับจิตวิทยาตะวันตกจนเกิดสาขาพุทธจิตวิทยาและชีวิตและความตาย รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกของโลกที่ผลิตนวัตกรรม ทำหนังสือพระไตรปิฏกเล่มแรกของโลกด้วนการใช้เทคโนโลยี ในพ.ศ. 2436 ถือว่าเป็นการนวัต กรรมด้านผลผลิต รัชกาลที่ 5 จึงมีคุณูปการต่อพระพุทธศาสนาและมหาจุฬาเป็นอย่างยิ่ง บัณฑิตวิทยาลัยต้องสร้างนิเทศศาสตร์ทางธรรมะให้ได้ ด้วยการนำเทคโนโลยี มาช่วย ต้องพัฒนาไปสู่อนุสาสนียปาฎิหาริย์ 2) นวัตกรรมด้านกระบวนการ คือ การแสวงหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อลดขั้นตอนในการผลิต เช่น วิธีการสอนภาษาอังกฤษแก่มหาเปรียญโดยเทียบเคียงกับภาษาบาลี วิธีการ สอนเชิงพุทธบูรณาการ 3) นวัตกรรมด้านการบริการ คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อออนไลน์มาใช้ในการเรียนการสอนและเผยแผ่ธรรม บริการด้านวิชาการเพื่อให้ เข้าถึงคนในยุคสมัยใหม่ 4) นวัตกรรมด้านการบริหาร คือ การนำหลักธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการจนได้ผลจริง (Paperless Office) บัณฑิตวิทยาลัยจึงต้องคุมคุณภาพการศึกษา ................................. (หมายเหตุ : ขอบคุณข้อมูลจากเฟซบุ๊ก pramote od pantapat พระอาจารย์ปราโมทย์ วาทโกวิโท นิสิตปริญญาเอก สาขาสันติศึกษา มจร) แม้นแต่สามเณรถ่ายภาพแล้วมีการโพสต์ผ่านทางสื่ออนไลน์ยังถูกวิจารณ์ไม่เหมาะสมแม้ว่าจะไม่มีความผิดก็ ตามhttp://www.amarintv.com/news-update/news-2934/84372/ คณะกรรมการประสานงานแผนยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา(คปพ.) เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2561 เพื่อให้การดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาระยะปี 2560-2564 14โครงการ มีโครงการนวัตกรรมเชิงพุทธ มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ... อ่านต่อที่ : มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ ประดับ โพธิกาญจนวัตร โฆษกสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(พศ.) https://www.dailynews.co.th/education/600437 การใช้สื่อ และ คนรุ่นใหม่’ พลเมืองแบบไหนในโลกดิจิทัล https://www.citizenthaipbs.net/node/22026 อินเทอร์เน็ต เป็นหนึ่งช่องทางการสื่อสารในยุคดิจิทัล ทำให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย “การรู้เท่าทันสื่อ” จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้ประชาชนสามารถทำ ความเข้าใจ รู้เท่าทัน ข้อมูลข่าวสารที่ตนเองรับมาได้ 6 พ.ย. 2560 วงเสวนา “พลเมืองแบบไหนในโลกดิจิทัล” ในสัปดาห์ รู้เท่าทันสื่อ “MIDL Week 2017 : พลังพลเมืองดิจิทัล” จัดโดยสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส), ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย, Documentary Club และWarehouse 30 ระหว่างวันที่ 6-10 พ.ย. 2560 ที่ warehouse 30 กรุงเทพฯ โดยวิทยากร 1.ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ : โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน(iLaw) 2.วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง : หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา(สกว.) ดำเนินรายการโดย ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ : โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) “ผิด” ดูสื่อแล้วคิดว่า สื่อรอบด้าน จริงทั้งหมด แสดงว่าเราไม่รู้เท่าทัน ต้องทำการบ้าน และทำความเข้าใจ หาข้อมูลต่อให้มากขึ้น น่าเป็นห่วงน่าจะเป็นผู้ใหญ่มากกว่า เพราะเราไม่ได้โตกับมากับเทคโนโลยี อาจจะยังไม่กล้าที่จะลอง ที่จะใช้เทคโนโลยี แต่อินเทอร์เน็ตจะเปลี่ยนแปลงโลกได้นั่น ผมว่าฝัน เพราะเอาเข้าจริงการใช้สื่อสื่อสารข้อมูลนั้นก็แค่สร้างความเข้มแข็งในชุมชนเดียวกัน ในกลุ่มที่คิดเหมือนกันกับเรา ไม่เชื่อว่าพลังดิจิทัลเปลี่ยนแปลงได้ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง : หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา (สกว.) สื่อถูกประกอบสร้างทางสังคม ซึ่งไม่ใช่ความจริงที่ประกอบจากความจริงทั้งหมด คัดกรอง สื่อใหม่สำคัญ แต่สื่อเก่าที่เป็นวิชาชีพก็มีความสำคัญมากขึ้นด้วย คนต้องการสื่อที่เชื่อถือได้ การศึกษาสร้างสำนึกของความเป็นพลเมือง สร้างความรู้ให้เท่าทันสื่อดิจิทัลเป็นมิติทางเทคโนโลยีและอีกด้านหนึ่งมันก็เป็นมิติทางวัฒนธรรม ศิโรจน์ คล้ามไพบูรณ์ : นักวิชาการและสื่อมวลชน ไม่คิดว่าอินเทอร์เน็ตจะสร้างสังคมประชาธิปไตย สังคมที่เป็นธรรมและสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ อินเทอร์เน็ตสำหรับคนจำนวนมากมันคือ อุตสาหกรรมของข้อมูลข่าวสาร ขึ้นอยู่กับว่าคนที่ผลิตข้อมูลข่าวสาร ผลิตอะไรเข้าไป ความน่าสนใจคือ ทุกคนสามารถผลิตคอนเทนต์ แต่จะทำยังไงให้คนผลิตคอนเทนต์ลงไปบนอินเตอร์เน็ตเท่ากันๆ คอนเทนต์ที่ผู้รับนั่นรับฟังเท่ากัน ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่ใช่ โจทย์ใหญ่กว่าคือ ทำอย่างไรให้คนผลิตคอนเทนต์เข้าไปสู่อินเตอร์เน็ตได้เท่าๆ กัน หลังจากนั้นคือ สกิลของแต่ละคนว่า ทำอย่างไรให้คอนเทนต์ของแต่ละคน ถูกรับฟัง และเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงสังคมได้ แนวคิดผู้ใช้สื่อสร้างสันติสุข พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสารของในหลวงร.9 “พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสาร” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเห็นความสำคัญของการสื่อสารในฐานะเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ดั่งพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2526 ที่ว่า “การสื่อสารเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า รวมทั้งการรักษาความมั่นคงและปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในสมัยปัจจุบันที่สถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ย่อมมีความสำคัญมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของประเทศ จึงควรจะได้ร่วมมือกันดำเนินงานและประสานผลงานกันอย่างใกล้ชิดและสอดคล้อง สำคัญที่สุดควรจะได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการและเทคโนโลยีอันทันสมัยให้ลึกซึ้งและกว้างขวาง แล้วพิจารณาเลือกเฟ้นส่วนที่ดี มีประสิทธิภาพแน่นอนมาปรับปรุงใช้ด้วยความฉลาดริเริ่ม ให้พอเหมาะสมกับฐานะและสภาพของบ้านเมืองของเรา เพื่อให้กิจการสื่อสารของชาติมีโอกาสได้พัฒนาอย่างเต็มที่ และสามารถอำนวยประโยชน์แก่การสร้างเสริมเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพของบ้านเมืองได้อย่างสมบูรณ์” เป็นต้นแบบของการใช้เทคโนโลยีสื่อสารที่ดี ทั้งวิทยุสื่อสาร สายอากาศและโทรพิมพ์ เพื่อรับฟังข่าวรายงานเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ของการทรงงานทางการแพทย์และสาธารณสุข ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำระบบสื่อสารแบบถ่ายทอดสัญญาณ ซึ่งเชื่อมต่อวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ในขณะนั้น) ให้มูลนิธิแพทย์อาสาในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) นำไปใช้ในการช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยในท้องถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกลอีกด้วย ทรงใช้การสื่อสารเพื่อประโยชน์ของการทรงงานทางการเกษตรและการพัฒนา ด้วยการทำฝนหลวง ให้พิจารณาติดตั้งวิทยุสื่อสารแก่หน่วยปฏิบัติการฝนเทียม ทั้งอากาศและที่ภาคพื้นดิน ทรงเป็นนักประดิษฐ์ด้วยตัวพระองค์เอง ตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.ขึ้นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อปี พ.ศ.2494 จัดรายการ “บอกบุญ” ไปยังผู้มีจิตศรัทธา ให้ร่วมทำบุญบริจาคทรัพย์และสิ่งของ “โดยเสด็จพระราชกุศล” ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากในเหตุการณ์ภัยพิบัติหลายครั้ง อาทิ อหิวาตกโรคระบาดในปี พ.ศ.2501 และเหตุการณ์วาตภัยรุนแรงที่แหลมตะลุมพุก จ.นครศรีธรรมราช เมื่อปี พ.ศ.2505 “ทรงใช้เครื่องมือสื่อสารช่วยในการคลี่คลายวิกฤตการณ์ทางการเมืองครั้งสำคัญๆ ของประเทศจนเป็นผลสำเร็จในหลายกรณี โดยเฉพาะวิกฤตการณ์ทางการเมือง 2 กรณี คือ เหตุการณ์ “วันมหาวิปโยค” 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 และเหตุการณ์วันเมษาฮาวาย 1 เมษายน พ.ศ.2524 ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงติดตามความคืบหน้าของเหตุการณ์และความเคลื่อนไหวต่างๆ ทุกระยะผ่านการสื่อสารทางวิทยุของทหารและตำรวจ จนเมื่้อเหตุการณ์ทวีความรุนแรงจนมีการเสียชีวิตของนักศึกษาและประชาชน ก็มีพระราชกระแสรับสั่งให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการใช้มาตรการระงับเหตุด้วยการผ่อนผันโดยละมุนละม่อม หลังจากนั้นก็ทรงเฝ้าฟังการติดต่อทางวิทยุอยู่ในห้องทรงงานทั้งคืน จนในที่สุดทรงตัดสินพระราชหฤทัยเข้ายุติเหตุการณ์ด้วยพระองค์เอง โดยปรากฏพระองค์และพระราชทานกระแสพระราชดำรัสทางโทรทัศน์ เหตุการณ์จึงสงบลงในเวลาต่อมา “ร.9-กษัตริย์นักการสื่อสาร” ทรงใช้ช่วยคนไทยทุกด้าน,รายงานผลการวิจัยเรื่องพระมหากษัตริย์กับการสื่อสารโทรคมนาคม,มติชนออนไลน์, https://www.matichon.co.th/news/698486 การสื่อสาร มีลักษณะทั้งสามแบบ คือแบบที่จรรโลงใจ จรรโลงปัญญา และลักษณะที่ยุยงบ่อนทำลาย สติยับยั้งชั่งใจ คัดกรองข่าวสาร ใคร่ครวญหาเหตุหาผลที่ถูกต้อง กลับด้อยคุณภาพน้อยลง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงจำแนกบุคคลผู้มีจริตนิสัยต่างๆ กันไว้ 6 จำพวก คนบางคนชอบสวยงาม เรียกว่าพวกราคจริต คนบางคนชอบใช้อารมณ์ หุนหันพลันแล่น มักโกรธ เรียกว่าพวกโทสจริต คนบางคนก็ปกติลุ่มหลงเร็ว ขาดความรู้ เชื่ออะไรผิดๆ โดยง่าย เรียกว่าพวกโมหจริต คนบางคนก็มีความเชื่อความศรัทธาโดยขาดปัญญา เรียกว่าพวกศรัทธาจริต คนบางคนก็มีปกติใช้วิจารณญาณ ก่อนรับฟัง เรียกว่าพวกพุทธิจริต และคนบางคนก็จัดอยู่ในพวกคิดมาก กังวลมาก หาข้อยุติได้ยาก เรียกว่าพวกวิตกจริต ทรงแนะนำวิธีเจริญพระกรรมฐานต่างๆ กัน เป็นคู่ปรับกับแต่ละจริต เพื่อการดำเนินชีวิตไปบนวิถีทางที่เหมาะสม บรรลุถึงปัญญาได้โดยง่าย มีแนวทางที่จะพยากรณ์ และควบคุมสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งจำเป็นยิ่งสำหรับบุคคลและหน่วยงานเช่น กสทช.” มส.แนะธรรมนิเทศต้องผลิตสื่อมวลชนของสงฆ์ http://www.banmuang.co.th/news/education/89815 วันที่ 4 ก.ย.2560 พระพรหมบัณฑิต, พระพระพุทธเจ้าเป็นผู้ก่อตั้งถือว่าเป็นการประดิษฐกรรม Invention เราอย่าคิดคำสอนใหม่ที่ไม่พื้นฐาน มีการตีความผิด ๆ เราไม่ต้องประดิษญ์คำสอนใหม่ แต่เราสามารถเป็นนวัตกรรม ใครก็ตามที่นำมาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้นเหมาะสมกับสังคมด้วยการประยุกต์บูรณาการ ทำให้น่าสนใจ มากขึ้น เรียกว่า นวัตกรรม วิปัสสนากรรมฐานเป็นนวัตกรรม ท่านติช นัท ฮันห์ นำเสนอการภาวนาให้เหมาะกับคนในสังคมปัจจุบัน ถือว่าเป็นนวัตกรรม นิสิตบัณฑิตทุกสาขามกาจุฬาจะทำวิจัยเรื่องใดก็ตามจะต้องเป็นมีนวัตกรรม ถือว่าเป็นบูรณาการศาสตร์สมัยใหม่ เราต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ สาขาธรรมนิเทศมีคนเรียนน้อยเพราะขาดนวัตกรรม ต้องเป็นไปเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ จะต้องนำเทคโนโลยีมาช่วยในการเผยแผ่ นำศาสตร์นิเทศ เป็นนิเทศศาสตร์เพื่อการเผยแผ่ สงฆ์เราอ่อนแอ่เพราะเราขาดนิเทศศาสตร์ ต้องมีการเชื่อมธรรมะกับนิเทศศาสตร์เป็นการบูรณาการ เรียนจบต้องสามารถเป็น สื่อมวลชนของสงฆ์ มิใช่มาเรียนเรื่องเทศน์เท่านั้น ส่วนสันติศึกษาเรียนแล้วต้องใจกว้าง ทุกมิติทางศาสนา พูดคุยกับบุคคลที่มีความต่าง รับฟังกันและกัน ไม่คลั่งศาสนาของตน สันติศึกษากับปรัชญาจึงไปด้วยกัน สิ่งสำคัญทุกหลักสูตรต้องมีนวัตกรรม งานวิจัยต้องมี 4 นวัตกรรม คือ " ด้านผลผลิต ด้านการบริการ ด้านกระบวนการ ด้านการจัดการ " งานวิจัยต้องสอดคล้องกับด้านใดด้านหนึ่งให้ได้ 1)นวัตกรรมด้าน การผลผลิต คือ การนำเอาองค์ความรู้ในอภิธรรมปิฏกและวิธีปฏิบัติกรรมฐานมาบูรณาการเข้ากับจิตวิทยาตะวันตกจนเกิดสาขาพุทธจิตวิทยาและชีวิตและความตาย รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกของโลกที่ผลิตนวัตกรรม ทำหนังสือพระไตรปิฏกเล่มแรกของโลกด้วนการใช้เทคโนโลยี ในพ.ศ. 2436 ถือว่าเป็นการนวัต กรรมด้านผลผลิต รัชกาลที่ 5 จึงมีคุณูปการต่อพระพุทธศาสนาและมหาจุฬาเป็นอย่างยิ่ง บัณฑิตวิทยาลัยต้องสร้างนิเทศศาสตร์ทางธรรมะให้ได้ ด้วยการนำเทคโนโลยี มาช่วย ต้องพัฒนาไปสู่อนุสาสนียปาฎิหาริย์ 2) นวัตกรรมด้านกระบวนการ คือ การแสวงหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อลดขั้นตอนในการผลิต เช่น วิธีการสอนภาษาอังกฤษแก่มหาเปรียญโดยเทียบเคียงกับภาษาบาลี วิธีการ สอนเชิงพุทธบูรณาการ 3) นวัตกรรมด้านการบริการ คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อออนไลน์มาใช้ในการเรียนการสอนและเผยแผ่ธรรม บริการด้านวิชาการเพื่อให้ เข้าถึงคนในยุคสมัยใหม่ 4) นวัตกรรมด้านการบริหาร คือ การนำหลักธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการจนได้ผลจริง (Paperless Office) บัณฑิตวิทยาลัยจึงต้องคุมคุณภาพการศึกษา ................................. (หมายเหตุ : ขอบคุณข้อมูลจากเฟซบุ๊ก pramote od pantapat พระอาจารย์ปราโมทย์ วาทโกวิโท นิสิตปริญญาเอก สาขาสันติศึกษา มจร) แม้นแต่สามเณรถ่ายภาพแล้วมีการโพสต์ผ่านทางสื่ออนไลน์ยังถูกวิจารณ์ไม่เหมาะสมแม้ว่าจะไม่มีความผิดก็ ตามhttp://www.amarintv.com/news-update/news-2934/84372/ คณะกรรมการประสานงานแผนยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา(คปพ.) เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2561 เพื่อให้การดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาระยะปี 2560-2564 14โครงการ มีโครงการนวัตกรรมเชิงพุทธ มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ... อ่านต่อที่ : มส.เห็นชอบ14 โครงการใหญ่ปฏิรูปกิจการพุทธ ประดับ โพธิกาญจนวัตร โฆษกสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(พศ.) https://www.dailynews.co.th/education/600437 การใช้สื่อ และ คนรุ่นใหม่’ พลเมืองแบบไหนในโลกดิจิทัล https://www.citizenthaipbs.net/node/22026 อินเทอร์เน็ต เป็นหนึ่งช่องทางการสื่อสารในยุคดิจิทัล ทำให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย “การรู้เท่าทันสื่อ” จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้ประชาชนสามารถทำ ความเข้าใจ รู้เท่าทัน ข้อมูลข่าวสารที่ตนเองรับมาได้ 6 พ.ย. 2560 วงเสวนา “พลเมืองแบบไหนในโลกดิจิทัล” ในสัปดาห์ รู้เท่าทันสื่อ “MIDL Week 2017 : พลังพลเมืองดิจิทัล” จัดโดยสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส), ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย, Documentary Club และWarehouse 30 ระหว่างวันที่ 6-10 พ.ย. 2560 ที่ warehouse 30 กรุงเทพฯ โดยวิทยากร 1.ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ : โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน(iLaw) 2.วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง : หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา(สกว.) ดำเนินรายการโดย ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ : โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) “ผิด” ดูสื่อแล้วคิดว่า สื่อรอบด้าน จริงทั้งหมด แสดงว่าเราไม่รู้เท่าทัน ต้องทำการบ้าน และทำความเข้าใจ หาข้อมูลต่อให้มากขึ้น น่าเป็นห่วงน่าจะเป็นผู้ใหญ่มากกว่า เพราะเราไม่ได้โตกับมากับเทคโนโลยี อาจจะยังไม่กล้าที่จะลอง ที่จะใช้เทคโนโลยี แต่อินเทอร์เน็ตจะเปลี่ยนแปลงโลกได้นั่น ผมว่าฝัน เพราะเอาเข้าจริงการใช้สื่อสื่อสารข้อมูลนั้นก็แค่สร้างความเข้มแข็งในชุมชนเดียวกัน ในกลุ่มที่คิดเหมือนกันกับเรา ไม่เชื่อว่าพลังดิจิทัลเปลี่ยนแปลงได้ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง : หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา (สกว.) สื่อถูกประกอบสร้างทางสังคม ซึ่งไม่ใช่ความจริงที่ประกอบจากความจริงทั้งหมด คัดกรอง สื่อใหม่สำคัญ แต่สื่อเก่าที่เป็นวิชาชีพก็มีความสำคัญมากขึ้นด้วย คนต้องการสื่อที่เชื่อถือได้ การศึกษาสร้างสำนึกของความเป็นพลเมือง สร้างความรู้ให้เท่าทันสื่อดิจิทัลเป็นมิติทางเทคโนโลยีและอีกด้านหนึ่งมันก็เป็นมิติทางวัฒนธรรม ศิโรจน์ คล้ามไพบูรณ์ : นักวิชาการและสื่อมวลชน ไม่คิดว่าอินเทอร์เน็ตจะสร้างสังคมประชาธิปไตย สังคมที่เป็นธรรมและสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ อินเทอร์เน็ตสำหรับคนจำนวนมากมันคือ อุตสาหกรรมของข้อมูลข่าวสาร ขึ้นอยู่กับว่าคนที่ผลิตข้อมูลข่าวสาร ผลิตอะไรเข้าไป ความน่าสนใจคือ ทุกคนสามารถผลิตคอนเทนต์ แต่จะทำยังไงให้คนผลิตคอนเทนต์ลงไปบนอินเตอร์เน็ตเท่ากันๆ คอนเทนต์ที่ผู้รับนั่นรับฟังเท่ากัน ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่ใช่ โจทย์ใหญ่กว่าคือ ทำอย่างไรให้คนผลิตคอนเทนต์เข้าไปสู่อินเตอร์เน็ตได้เท่าๆ กัน หลังจากนั้นคือ สกิลของแต่ละคนว่า ทำอย่างไรให้คอนเทนต์ของแต่ละคน ถูกรับฟัง และเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงสังคมได้ แนวคิดผู้ใช้สื่อสร้างสันติสุข พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสารของในหลวงร.9 “พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสาร” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเห็นความสำคัญของการสื่อสารในฐานะเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ดั่งพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2526 ที่ว่า “การสื่อสารเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า รวมทั้งการรักษาความมั่นคงและปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในสมัยปัจจุบันที่สถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ย่อมมีความสำคัญมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของประเทศ จึงควรจะได้ร่วมมือกันดำเนินงานและประสานผลงานกันอย่างใกล้ชิดและสอดคล้อง สำคัญที่สุดควรจะได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการและเทคโนโลยีอันทันสมัยให้ลึกซึ้งและกว้างขวาง แล้วพิจารณาเลือกเฟ้นส่วนที่ดี มีประสิทธิภาพแน่นอนมาปรับปรุงใช้ด้วยความฉลาดริเริ่ม ให้พอเหมาะสมกับฐานะและสภาพของบ้านเมืองของเรา เพื่อให้กิจการสื่อสารของชาติมีโอกาสได้พัฒนาอย่างเต็มที่ และสามารถอำนวยประโยชน์แก่การสร้างเสริมเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพของบ้านเมืองได้อย่างสมบูรณ์” เป็นต้นแบบของการใช้เทคโนโลยีสื่อสารที่ดี ทั้งวิทยุสื่อสาร สายอากาศและโทรพิมพ์ เพื่อรับฟังข่าวรายงานเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ของการทรงงานทางการแพทย์และสาธารณสุข ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำระบบสื่อสารแบบถ่ายทอดสัญญาณ ซึ่งเชื่อมต่อวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ในขณะนั้น) ให้มูลนิธิแพทย์อาสาในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) นำไปใช้ในการช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยในท้องถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกลอีกด้วย ทรงใช้การสื่อสารเพื่อประโยชน์ของการทรงงานทางการเกษตรและการพัฒนา ด้วยการทำฝนหลวง ให้พิจารณาติดตั้งวิทยุสื่อสารแก่หน่วยปฏิบัติการฝนเทียม ทั้งอากาศและที่ภาคพื้นดิน ทรงเป็นนักประดิษฐ์ด้วยตัวพระองค์เอง ตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.ขึ้นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อปี พ.ศ.2494 จัดรายการ “บอกบุญ” ไปยังผู้มีจิตศรัทธา ให้ร่วมทำบุญบริจาคทรัพย์และสิ่งของ “โดยเสด็จพระราชกุศล” ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากในเหตุการณ์ภัยพิบัติหลายครั้ง อาทิ อหิวาตกโรคระบาดในปี พ.ศ.2501 และเหตุการณ์วาตภัยรุนแรงที่แหลมตะลุมพุก จ.นครศรีธรรมราช เมื่อปี พ.ศ.2505 “ทรงใช้เครื่องมือสื่อสารช่วยในการคลี่คลายวิกฤตการณ์ทางการเมืองครั้งสำคัญๆ ของประเทศจนเป็นผลสำเร็จในหลายกรณี โดยเฉพาะวิกฤตการณ์ทางการเมือง 2 กรณี คือ เหตุการณ์ “วันมหาวิปโยค” 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 และเหตุการณ์วันเมษาฮาวาย 1 เมษายน พ.ศ.2524 ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงติดตามความคืบหน้าของเหตุการณ์และความเคลื่อนไหวต่างๆ ทุกระยะผ่านการสื่อสารทางวิทยุของทหารและตำรวจ จนเมื่้อเหตุการณ์ทวีความรุนแรงจนมีการเสียชีวิตของนักศึกษาและประชาชน ก็มีพระราชกระแสรับสั่งให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการใช้มาตรการระงับเหตุด้วยการผ่อนผันโดยละมุนละม่อม หลังจากนั้นก็ทรงเฝ้าฟังการติดต่อทางวิทยุอยู่ในห้องทรงงานทั้งคืน จนในที่สุดทรงตัดสินพระราชหฤทัยเข้ายุติเหตุการณ์ด้วยพระองค์เอง โดยปรากฏพระองค์และพระราชทานกระแสพระราชดำรัสทางโทรทัศน์ เหตุการณ์จึงสงบลงในเวลาต่อมา “ร.9-กษัตริย์นักการสื่อสาร” ทรงใช้ช่วยคนไทยทุกด้าน,รายงานผลการวิจัยเรื่องพระมหากษัตริย์กับการสื่อสารโทรคมนาคม,มติชนออนไลน์, https://www.matichon.co.th/news/698486 การสื่อสาร มีลักษณะทั้งสามแบบ คือแบบที่จรรโลงใจ จรรโลงปัญญา และลักษณะที่ยุยงบ่อนทำลาย สติยับยั้งชั่งใจ คัดกรองข่าวสาร ใคร่ครวญหาเหตุหาผลที่ถูกต้อง กลับด้อยคุณภาพน้อยลง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงจำแนกบุคคลผู้มีจริตนิสัยต่างๆ กันไว้ 6 จำพวก คนบางคนชอบสวยงาม เรียกว่าพวกราคจริต คนบางคนชอบใช้อารมณ์ หุนหันพลันแล่น มักโกรธ เรียกว่าพวกโทสจริต คนบางคนก็ปกติลุ่มหลงเร็ว ขาดความรู้ เชื่ออะไรผิดๆ โดยง่าย เรียกว่าพวกโมหจริต คนบางคนก็มีความเชื่อความศรัทธาโดยขาดปัญญา เรียกว่าพวกศรัทธาจริต คนบางคนก็มีปกติใช้วิจารณญาณ ก่อนรับฟัง เรียกว่าพวกพุทธิจริต และคนบางคนก็จัดอยู่ในพวกคิดมาก กังวลมาก หาข้อยุติได้ยาก เรียกว่าพวกวิตกจริต ทรงแนะนำวิธีเจริญพระกรรมฐานต่างๆ กัน เป็นคู่ปรับกับแต่ละจริต เพื่อการดำเนินชีวิตไปบนวิถีทางที่เหมาะสม บรรลุถึงปัญญาได้โดยง่าย มีแนวทางที่จะพยากรณ์ และควบคุมสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งจำเป็นยิ่งสำหรับบุคคลและหน่วยงานเช่น กสทช.” ๒.๓ สรุป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น