...................
ขณะเดียวกันอุปกรณ์เครื่องมือทางสื่อสังคมออนไลน์
๑) คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำนวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการคำนวณและการประมวลผลข้อมูล
๒) สมาร์ทโฟน (SmartPhone) คือ โทรศัพท์มือถือที่นอกเหนือจากใช้โทรออก-รับสายแล้วยังมีแอพพลิเคชั่นให้ใช้งานมากมาย สามารถรองรับการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน 3G, Wi-Fi และสามารถใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชั่นสนทนาชั้นนำ เช่น LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดยที่ผู้ใช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานสมาร์ทโฟนให้ตรงกับความต้องการได้มากกว่ามือถือธรรมดา ผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ๆ นิยมผลิตสมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่กล้องถ่ายรูปที่มีความละเอียดสูง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและลูกเล่นที่น่าสนใจ
๓) แท็บเล็ต (Tablet) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัสขนาดใหญ่ มีขนาดหน้าจอตั้งแต่ 7 นิ้วขึ้นไป พกพาได้สะดวก สามารถใช้งานหน้าจอผ่านการสัมผัสผ่านปลายนิ้วได้โดยตรง มีแอพพลิเคชั่นมากมายให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะรับ-ส่งอีเมล์, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟังเพลง, เล่นเกม หรือแม้กระทั่งใช้ทำงานเอกสารออฟฟิต ข้อดีของแท็บเล็ตคือมีหน้าจอที่กว้าง ทำให้มีพื้นที่การใช้งานเยอะ มีน้ำหนักเบา พกพาได้สะดวกกว่าโน๊ตบุ๊คหรือ คอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทึกหรือใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อการศึกษาได้เป็นอย่างดี
๔) เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ดดิสก์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
๕) ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่าย
๖) ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง
๗) เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2 และทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
๘) เราต์เตอร์ (Router) เป็นอุปรณ์ที่ทำหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล(Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
๙) บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternetกับ Token Ring เป็นต้น บริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อยๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆได้
๑๐) เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น .................................
สื่อออนไลน์ (Online Journatitsm) ประกอบด้วยเว็บไซต์ (Website) ที่ยอดฮิตที่มีผู้ใช้เป็นจำนวนมาก(สถิติ) เช่น เฟซบุ๊ก(facebook) ทวิตเตอร์(Twitter) ไลน์(Line) อินสตาร์แกรมหรือไอจี (Instagram - Ig) ยูทูป(YouTube) แอพพลิเคชั่น(Application) จนกระทั้งมีการลอมรวมเป็น (Online Muti Journatitsm) พัฒนาเป็น อินเตอร์เน็ต ออฟ ทิ้งค์ หรือ ไอโอที (Internet of Thinking =IOT) หรือมีการหลอมรวมรูปแบบ (Muti Platform)พัฒนาเป็นสังคมด้วยมีเดีย(Social Media) เพราะสร้างเป็นเครือข่ายทางสังคม (social network)ขณะเดียวกันทางด้านเทศโนโยลีได้(Technology) ที่มีการพัฒนาเริ่มตั้งแต่ กราฟิกเสมือนจริง(Augument Reality=AR) กราฟิก (VR) มีการผสมระหว่าง AR และ VR เป็น MR อย่างเช่น รวมถึง VTR คือ สื่อวีดีทัศน์หรือวิดีโอซึ่งใช้สำหรับบันทึกภาพและเสียง ส่วนมากมัก หมายถึงวิดีโอแนะนำบุคคล องค์กร หรือสถานที่โดยย่อเพื่อให้ผู้ชมเกิดความคุ้นเคยและได้รับข้อมูลที่สำคัญเบื้องต้นเกี่ยวกับบุคคล หรือสิ่งที่จะได้สัมผัสหลังจากที่ได้ชม VTR แล้ว เช่น VTR แนะนำองค์กรจะทำให้ผู้ชมได้รับข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรว่าทำอะไร มีใครเป็นผู้บริหารบ้าง และอื่น ๆ ก่อนที่จะได้ฟังการบรรยายจากตัวแทนขององค์กร เป็นต้น(http://www.xn--12c0ecxsex2q.com/)จนกระทั้งมีการพัฒนามาระดับปัญญาประดิษย์หรือหุ่นยนต์ (AI=Artificial Intelligence) หุ่นยนต์ อย่างเช่นโรบอต(robotics) ใช้ในสื่อออนไลน์สามารถสร้างข่าวได้ ๓๐,๐๐๐ ชิ้นต่อเดือน สร้างวิวสูงพร้อมกันนี้ยังนำมาใช้ในการสร้างข่าวปลอด(Fake News) ส่งผลให้เกิดผู้ส่งสารเสมือนจริง (VSR)
หลังจากนั้นมีการประยุกต์ดิจิทอลในรูปแบบต่างๆ เช่น Digital Communications Digital Entrepreneurship Digital Learnings Digital Politics Digital Commerce Digital Innovations Digital Communications Digital Entrepreneurship Digital Learnings Digital Politics Digital Commerce Digital Innovations Digital City Digital Cafe Digital Sciene Digital Transformation หมายถึง ข่าวสร้างราคาได้บนฐานของการทำสิ่งที่คนอยากรู้ ขยายข้อมูลข่าว ต่อยอดประเด็นข่าว แตกต่างจากคนอื่น สื่อต้องทำ Big Data เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้รับสาร Digital Nomad สัมภเวสี "การดำเนินชีวิตประจำวันไม่ติดอยู่กับที่ อาศัยเทคโนโลยีและสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร โดยสามารถนั่งทำงานตามร้านกาแฟ สวนสาธารณะ ชายทะเล ผาน้ำตก ริมขอบเหว ซึ่งสามารถทำงานได้" (https://thematter.co/sponsor/digital-nomad/47134) Digital City Digital Cafe Digital Sciene Digital Transformation หมายถึง ข่าวสร้างราคาได้บนฐานของการทำสิ่งที่คนอยากรู้ ขยายข้อมูลข่าว ต่อยอดประเด็นข่าว แตกต่างจากคนอื่น สื่อต้องทำ Big Data เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้รับสาร Digital Nomad สัมภเวสี "การดำเนินชีวิตประจำวันไม่ติดอยู่กับที่ อาศัยเทคโนโลยีและสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร โดยสามารถนั่งทำ งานตามร้านกาแฟ สวนสาธารณะ ชายทะเล ผาน้ำตก ริมขอบเหว ซึ่งสามารถทำงานได้" (https://thematter.co/sponsor/digital-nomad/47134) ขณะที่ IBSC ก็มีแผนพัฒนาสอดรับ Digital Library MCU ประกอบด้วย Organization World MCU Classroom Contant Big Data Application Mind Sharing Caring Digital Literacy is for Social Enterprise Algorithm Platform Transformation ความเข้าใจ รู้เท่าทัน
การพัฒนาการณ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ก้าวหน้าขึ้นดังกล่าว รัฐบาลายใต้การบริหารงานของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(พ.ศ.๒๕๕๗-ปัจจุบัน) ได้มีเป้าหมายพัฒนาประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือที่เรียกว่าไทยแลนด์ ๔.๐ (Thailand๔.๐) โดยมีเป้าพัฒนาผ่าน ๓ แพลตฟอร์มหลัก คือ
๑) Bio-Digital Platform ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทึ่มีฐานจากรหัสพันธุ กรรมและชีวโมเลกุล และดิจิทัลเดต้า ซึ่งกระทรวงวิทย์ฯ เตรียมโครงการสำคัญรองรับหลายโครงการ อาทิ Bio Bank, Gene Bank, PlantFactory และ Bioinformatics เป็นต้น
๒) Cyber-Physical Platform เพื่อเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่จะมีทั้งระบบการผลิตที่สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ทางกายภาพรวมถึงแพลตฟอร์มการทำงาน การซื้อขาย ตลอดจนการให้บริการที่อยู่ในโลกไซเบอร์ควบคู่กันไป โดยมีเทคโนโลยีในที่สำคัญ อาทิ High Performance Computing, Smart Business, Internet of Value and Blockchain และ Data Analytics เป็นต้น
๓) Earth-Space Platform ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่จะครอบคลุมทั้งด้าน Food for the Future, Biomedical, Renewable Energy, Climate Technology, Geo Engineering, การจัดการน้ำและทรัพยากร และภัยพิบัติต่าง ๆ ตลอดจนการจัดการที่เกี่ยวกับดาวเทียมและอวกาศ และอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ เป็นต้น และมีเป้าพัฒนาเป็นสตาร์ทอัพ(Startup) 6 กลุ่ม ดังนี้
๑) E-commerce : การค้าขายผ่านสื่อออนไลน์ทั้งในรูปแบบของสินค้าและบริการ
๒) Fintech : ว่าด้วยเรื่องเทคโนโลยีกับการเงิน เช่น การลงทุน การทำบัญชี เป็นต้น
๓) Agritech : เทคโนโลยีทางการเกษตร เป็นกลุ่มที่ช่วยผลักดันให้งานด้านเกษตรกรรมซึ่งเป็นทรัพยากรที่เรามีอยู่แล้วเพิ่มมูลค่ามากขึ้น
๔) Edtech : ธุรกิจเกี่ยวกับการเรียนรู้ เน้นกระจายองค์ความรู้ให้เข้าถึงกลุ่มคนได้ง่าย และเป็นวงกว้างมากขึ้น
๕) E-service : บริการต่างๆ ที่ถูกนำเสนอในรูปแบบออนไลน์ เช่น ชำระค่าบริการออนไลน์ เป็นต้น
๖) IOT : การเชื่อมโยงอุปกรณ์ทั้งหมดที่เราใช้ในชีวิตประจำวันให้สามารถควบคุมได้จากระยะไกลผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆ แต่เพื่อรองรับยุคดิจิทอลดังกล่าวรัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชากรยุคศวรรษที่ ๒๑ ที่จะต้องมีการพัฒนาทักษะ ๓ ด้าน (3 Types of 21st Century SkillS ) คือ
๑.Learning skills ๔ C
๑.๑ Critical thinking ทักษะเชิงวิเคราะห์(จิ) โดยรู้จักวิเคราะห์ด้วย Swot Analysis
๑.๑.๑ S=Strength (จุดแข็ง)
๑.๑.๒ W=Weakness (จุดอ่อน)
๑.๑.๓. Opportunity (โอกาส)
๑.๑.๔ T=Threat (สิ่งคุกคาม)
รู้จักตั้งคำถาม (ปุ)
รู้จักประเมิน (จิ)
รู้จักสรุป(ลิ)(เขียน)
๑.๒ Creative,Creativity ทักษะการคิดสร้างสรรค์ สร้างความแตกต่าง สร้างคุณค่า มีประโยชน์ สังเคราะห์ทางออกใหม่(นวัตกรรม) Innovation of Thought นวัตกรรมทางความคิด Attituce ทัศนคติ Concept แนวคิด segmentation การจำแนกแจกแจง
๑.๓ Communication ทักษะการสื่อสาระ เข้าถึง เข้าใจ (Knowledge) ทฤษฎี SMCR Sender มีอะไรบ้าง พัฒนา ได้ผลดี Tele communication Online Muti Journatitsm Convergent Journatitsm Peace Journalism Online Journalism แบ่งเป็น Tachnical และ Production Convergence , Convergent Journalism Peace Journalism Mobie Journalism Big Journalism ทำข่าวเชิงสืบสวนสอบสวนข้อมูลมาก หรือวารสารศาสตร์ บิ๊กสื่อ นิยามจากพิจิตรา หนังสือวารสารสมาคม ทำหน้าที่ประสาน 5G และ IOT Backpack Journalism Robo Journalism (โรบอต) Cross-media journalism Peace Journalism Inovation of Communication
๑.๔ Collaborating, Collaborative ทักษะการทำงานร่วมกัน(สังฆะ) ใจกว้าง เคารพความแตกต่าง (ขันติ) ทำงานเป็นทีม prosperity ความรุ่งเรืองร่วมกัน Mutual Benefit การมีผลประโยชน์ร่วมกัน
๒. Literacy Skills ทักษะการรู้เท่าทัน
๒.๑ Information Literacy การรู้เท่าทันข่าวสาร Share แบ่งปัน
๒.๒ Media Literacy การรู้เท่าทันสื่อ
๒.๓ Technology Literacy การรู้เท่าทันเทคโนโลยี Machine Learning E Electronic
๓. Life Skills ทักษะชีวิต
๓.๑ Flexibility การยืดยื่น ปรับตัว Positioning การจัดวางตัวตน Mutual Trust ความไว้เนื้อเชื่อใจ Mutual Respect การเคารพซึ่งกันและกัน
๓.๒ Initiative ความคิดริเริ่ม ต้นคิด
๓.๓ Social Skills ทักษะทางสังคม เป็นคนมีผลิตภาพ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Responsibility ความรับผิดชอบ
๓.๔ Produclivily คุณภาพ คุณธรรม Buddist Digital marketing Mindset Mindfulness MindmapBuddist Mindset is not I go to AI for All of us
๓.๕ Leadership มีภาวะผู้นำ (ศาสตร์พระราชา)
พร้อมกันนี้รัฐบาลยังได้มีการพัฒนาศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่(Big Data Goverment) ซึ่งมีองค์ประกอบ ๖ ด้านคือ ๑. Open Data ๒. Base Analytics Data ๓. Cloud Services Data อย่างเช่น Amazon และ Alibaba or MCU ๔. Hard ware,Soff Ware Data ๕.Data Analytic และ ๖. Data center
๒.๑.๓ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ในบริบทนี้ได้นำทฤษฎี SMCR ของ “เดวิด เค. เบอร์โล” (David K.Berlo) มาสังเคราะห์เพื่อที่เป็นเพื่อฐานในการวิเคราะห์การใช้สื่อออนไลน์ของพระสงค์ในลำดับต่อไป
ทฤษฎี SMCR เป็นแนวคิดของของเดวิด เบอโล ซึ่งเป็นประกวนการของการสื่อสารซึ่งประกอบด้วย SMCR ภายใต้เงื่อนไข KASN คือ ความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และการสร้างเครือข่าย ดังนี้
๑. ผู้ส่ง (Source) ต้องเป็นผู้ที่มีทักษะความชำนาญใน “การเข้ารหัส” (Encode) เนื้อหาข่าวสาร และควรจะมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ ตลอดจนพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับผู้รับด้วย
๒. ข้อมูลข่าวสาร (Message) เกี่ยวข้องด้านเนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่งข่าวสาร
๓. ช่องทางในการส่ง (Channel) หมายถึง ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง คือ การได้ยิน การดู การสัมผัส การลิ้มรส หรือการได้กลิ่น หรืออุปกรณ์ต่างๆ
๔. ผู้รับ (Receiver) ต้องเป็นผู้มีทักษะความชำนาญใน “การถอดรหัส” (Decode) สาร เป็นผู้ที่มีทัศนคติ ระดับความ และพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เช่นเดียวหรือคล้ายคลังกันกับผู้ส่งจึงจะทำให้การสื่อสารความหมายหรือการสื่อสารนั้นได้ผล
อย่างไรก็ตามทฤษฏี S M C R จะทำให้ขีดความสามารถของผู้ส่งสารและผู้รับสารประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใดนั้นตั้งอยู่ภายใต้เงื่อนไขคือ KASN ได้แก่ (๑) ระดับความรู้ (Knowledge Levels) ผู้ส่งและผู้รับมีระดับความรู้เท่าเทียมกันก็จะทำให้การสื่อสารนั้นลุล่วงไป
(๒) ทัศนคติ (Attitudes) ผู้ส่งและผู้รับต้องมีมีทัศนคติที่ดีต่อกันจะทำให้การสื่อสารได้ผลดี
(๓) ทักษะในการสื่อสาร (Communication Skills) มีความชำนาญหรือมีความสามารถในการถอดรหัสในการส่งและการรับสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันได้อย่าง
(๔) เครือข่ายสังคมและวัฒนธรรม (Socio-Culture Systems) ระบบสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติมีส่วนกำหนดพฤติกรรมของประชาชนในประเทศนั้น ๆ ซึ่งมีความแตกต่างกัน รวมถึงมีการศึกษาถึงกฎข้อบังคับทางศาสนาของแต่ละศาสนาประกอด้วยด้วย
ทั้งนี้สามารถนำทักษะของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ มาสังเคราะห์ในทฤษฏี S M C R ภายใต้เงื่อนไข KASN ถือได้ว่ามีความสอดคล้องกัน โดยผู้ส่ง (Source) และผู้รับ (Receiver) จะต้องมีทักษะครบทั้ง 3 ด้าน ส่วนเนื้อหาของสารนั้นเป็นไปตามทักษะการสื่อสาร(Communication ทักษะการสื่อสาระ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องมีทักษะด้านการเขียนข่าว M
๑.๑ ความหมายของข่าว ข่าว ๓๐คือ การรายงานข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดจนความคิดเห็นของบุคคลสาคัญ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ ซึ่งประชาชนให้ความสาคัญและสนใจ รวมทั้งมีผลกระทบต่อผู้คนจานวนมาก Mass มวลชน Content แนวเนื้อหา Context แนวบริบท
๑.๒ ลักษณะของข่าวมีองค์ประกอบที่สาคัญของเหตุการณ์ที่จะเป็นข่าวมีดังนี้
(๗) Suspense (ความมีเงื่อนงา) เหตุการณ์นั้นๆ เกิดขึ้นแล้ว แต่ยังไม่ยุติ เพราะมีเบื้องหลังที่ซับซ้อน
(๘) Oddity or Unusualness (ความแปลกประหลาด) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยผิดปกติวิสัย หรืออิทธิปาฏิหาริย์ต่างๆ
(๒) Human Interest (ประชาชนสนใจ) เหตุการณ์เรื่องราวที่เกิดขึ้นนั้น ทำให้ผู้รับทราบเกิดความสนใจอย่างมาก Satisfaction ความพึงพอใจ motivation แรงจูงใจ
(๙) Sex (องค์ประกอบทางเพศ) หมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเพศ ไม่ว่าจะเป็นเพศหญิง เพศชาย หรือผู้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ
(๑)Timeliness (ความสดใหม่) หรือ Immediacy (ความรวดเร็ว) เหตุการณ์หรือเรื่องราวนั้นๆ เพิ่งจะเกิดขึ้นสดๆ ร้อนๆ หรือเพิ่งจะค้นพบ แล้วมีการรายงานเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างรวดเร็วทันที Situations คือสะท้อนสถานการณ์ ที่ปรากฎในขณะนั้น เทรนในปัจจุบัน
(๓) Proximity of Nearness (ความใกล้ชิด) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลข่าวสารกับผู้ที่รับรู้เรื่องราว ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ทางร่างกายหรือจิตใจ
(๔)Prominence (ความมีชื่อเสียงหรือความสาคัญ) บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวนั้นมีชื่อเสียง เช่น นักการเมือง นักแสดง หรือบุคคลในสังคมชั้นสูงหรือสถานที่สาคัญ เช่น สถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ การเมือง ศาสนา ตลอดจนวัตถุสิ่งของอันล้าค่า และเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป
(๑๐) Progress (ความก้าวหน้า) เรื่องราวที่เป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี วิชาการ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์ ตลอดจนความก้าวหน้าของบุคคลที่ประสบความสาเร็จอย่างสูงในชีวิตทาให้คนทั่วไปสนใจใคร่รู้
(๕) Consequence (ผลกระทบ) เหตุการณ์เรื่องราวที่เกิดขึ้นนั้นมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของบุคคลมากน้อยเพียงใด
(๖)Conflict (ความขัดแย้ง) เรื่องราวนั้นแสดงถึงความขัดแย้งในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นในครอบครัวขนาดเล็ก หรือระหว่างประเทศ
หรือประกอบด้วย
(๒) Neutral ความเป็นธรรมชาติ
(๑) Native ความเป็นกลาง
(๔) New ใหม่ เสมอ ซ้ำไม่เอา
(๕) Now ปัจจุบันขณะ
(๓) North การช่วยหาช่องทาง(ในวิทยานิพนธ์)
(๖) Near เข้ามาร่วมแก้ปัญหา
๑.๓ คุณสมบัติของข่าว ในการพิจารณาคัดเลือกเรื่องราวที่จะนามาตีพิมพ์เป็น ข่าวนั้นนอกจากจะต้องพิจารณาเรื่ององค์ประกอบของข่าวแล้ว ยังต้องพิจารณาด้านคุณภาพของข่าวด้วย ข่าวที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
(๑) Accuracy (มีความถูกต้องครบถ้วน) ทุกรายละเอียดของข่าวเป็นข้อเท็จจริงไม่ถูกบิดเบือน Fack สร้างข่าวปลอม วิวปลอม เร็ตติ้งปลอม เพื่อการจูงใจ Fake News Fake online reviews
(๒) Balance and Fairness (มีความสมดุลและเป็นธรรม ) นาเสนอความคิดเห็นของทั้งสองฝุายที่โต้แย้งกันอย่างสมดุลและเป็นธรรม (๓) Objectivity (ความเที่ยงตรง) ดูเพิ่มเติมใน, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=148023 [๓๐ ส.ค.๒๕๕๗].
(๖) องค์ประกอบของการเขียน 5W 1Hได้แก่ Who What Where When Why และ How เพื่ออธิบายว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อใด ทาไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น และเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอย่างไร
๑.๔ ประเภทของข่าว การแบ่งประเภทของข่าวสามารถพิจารณาได้หลายแง่มุมด้วยกัน ได้แก่
๑) ประเภทของข่าวซึ่งพิจารณาในแง่ระดับข่าว ซึ่งแบ่งเป็น “ข่าวหนัก” ซึ่งเน้นเนื้อหาสาระความรู้มากกว่าความบันเทิง และ “ข่าวเบา” ซึ่งเน้นความบันเทิง หรือผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของผู้อ่านเป็นหลัก
๒) ประเภทของข่าวซึ่งพิจารณาในแง่ระดับความรู้สึกตอบสนองของผู้อ่านได้แก่ ข่าวที่ผู้อ่านรู้สึกตอบสนองได้ทันที แต่เป็นการตอบสนองในระยะสั้นๆ ได้แก่ ข่าวบันเทิง อาชญากรรม อุบัติเหตุ และข่าวที่ผู้อ่านรู้สึกตอบสนองช้า เพราะต้องใช้ความคิดพิจารณาเนื้อหาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ได้แก่ ข่าวการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา
๓) ประเภทของข่าวซึ่งพิจารณาจากวิธีการนาเสนอข่าว ซึ่งแบ่งเป็น ข่าวที่เสนอโดยเน้นเหตุการณ์ คือ เสนอเฉพาะข้อเท็จจริง และข่าวที่เสนอโดยเน้นที่กระบวนเกี่ยวเนื่องของข่าว คือเน้นการอธิบาย ตีความ ใช้ลีลาการเขียนแบบสารคดี เพื่อให้รายละเอียดที่เร้าใจ ดึงดูดความสนใจผู้อ่าน ดังจะเห็นได้ว่า ข่าวที่เกิดจากการเผยแพร่ของสื่อมวลชนจะมีคุณลักษณะประกอบด้วยหลักเกณฑ์ที่เกิดจากความรับผิดชอบต่อสังคม ในยุคสื่อสังคมออนไลน์ได้เกิดการไหลของข้อมูล ซึ่งไม่ใช่คุณลักษณะที่เป็นข่าวสาร แต่เป็นข้อมูลจานวนมหาศาลซึ่งประกอบด้วย จินตนาการจากทัศนคติของแต่ละบุคคล รวมถึง ข้อความเท็จ ข้อความส่อเสียด ข้อความหยาบคาย และข้อความ เพ้อเจ้อ ไร้สาระ เป็นต้น
ขณะเดียวกันหากเป็นพระสงฆ์แล้วมีความจำเป็อย่างยิ่งที่จะต้องมีทักษะในการเขียนข่าวเชิงพุทธหรือพระสื่อข่าว โดยต้องรู้ว่า ใคร คือ แหล่งข่าว ซึ่งมีทั้้งเปิดเผยและไม่เปิดเผย หากเปิดเผยก็จะระบุชื่อ นามสกุล ตำแหน่งชัดเจน หากไม่เปิดเผยก็จะใช้คำว่ารายงานข่าวกล่าวว่า แหล่งข่าวเปิดเผยว่า ซึ่งก็จะตรงกับหลักธรรมคือปุริสัญญุตา และปุคคโลปลัญญุตา นั่นก็คือบุคคลเป็นข่าว คือบุคคลที่สังคมส่วนใหญ่สนใจ หากทำเรื่องอะไรที่เป็นผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างทั้งทางบวกและลบย่อมเป็นข่าวอย่างแน่นอน(อนัตตา) แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าบุคคลทำเรื่องที่น่าสนใจ ก็ต้องมีเครื่องมือ(Tool) ในการวัด ซึ่งก็ดูจากสื่อออนไลน์ตัววัดจำนวนข่าวที่คนเข้าชมแต่ละวันหรือแต่ละชั่วโมง หากเราสังเกตบ่อยๆจะทำให้เรารู้ว่าเรื่องไหนเป็นเรื่องที่คนสนใจ พอมีเรื่องใหม่เกิดขึ้นจะทำให้เราอนุมานได้ว่าเรื่องนี้นะคนสนใจ
ส่วนบุคคลสำคัญแต่ทำเรื่องไม่น่าสนใจแต่อยากเป็นข่าวนี้คือปัญหาซึ่งเขาไม่เรียกข่าวเขาเรียกประชาสัมพันธ์หรือพีอาร์(อัตตา) ซึ่งข่าวดีแต่เสียเงินมันอยู่ตรงนี้คือทำเรื่องไม่เป็นเรื่องหรือทำเรื่องไม่น่าสนใจ หรือทำเรื่องน่าสนใจแต่ไม่เข้าใจถึงจุดที่น่าสนใจออกมาโชว์หรือเอาไว้หลังร้านใครจะเห็น หรือไม่ก็ข้อมูลไม่ครบส่วนใหญ่แล้วจะมีใคร ทำอะไร ที่ไหน แต่อย่างไรนี้ไม่ค่อยมีซึ่งตัว"อย่างไร"นี้แหละตัวปัญญาที่จะทำให้คนอ่านข่าวหรื่อรับสารเกิดความรู้ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะสร้างแต่ภาพที่ไม่ค่อยเป็นข่าวเพราะข้อมูลไม่ครบนี้เอง ทั้งๆที่ทำเรื่องที่ดีแล้วก็มีจะบ่นว่าทำไมไม่แชร์ก็เพราะข้อมูลมันไม่ครบ เพราะมันเป็นภาพพีอาร์หน้าตรงอธิบายความไม่ได้ ภาพที่เป็นข่าวจะต้องภาพหนึ่งภาพแทนคำได้พันคำ
ที่นี่จะหาแหล่งข่าวจากไหนส่วนหนึ่งคือความสัมพันธ์ อีกส่วนหนึ่งก็หาจากสื่อออนไลน์ต่างๆ ซึ่งก็จะต้องมีการสำรวจเป็นระยะ (พุทธจริยา) ว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น ส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ที่เฟซบุ๊ก หากรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นแล้วแต่เป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องจะอยู่ที่ทวิตเตอร์ ผู้สื่อข่าวเชิงพุทธ การฝึกเป็นพระสื่อข่าวหากเป็นพระหรือสามเณรที่ผ่านการสอบนักธรรมมาแล้วคิดว่าคงพัฒนาในการเขียนข่าวได้เร็วนั้นก็คือการแต่งกระทู้ จะเริ่มด้วยสุภาษิตภาษาบาลี แล้วก็คำแปล ตามด้วยเนื้อหาที่แต่ง แล้วก็สรุป โครงสร้างการเขียนข่าวก็ลักษณะเดียวกัน ตรงสุภาษิตภาษาบาลีก็คือพาดหัวข่าว จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้าได้พาดหัวข่าวให้เราเรียบร้อย ถ้าคนศึกษาภาษาบาลีประโยคสูงๆเรียนการแต่งฉันท์แล้วจะเข้าใจ โดยจะนำคำสำคัญของประเด็นของเนื้อหาหรือเรียกว่าคีย์เวิร์ดมาใช้ในการพาดซึ่งเป็นภาษาที่กระซับยิ่งสั้นยิ่งดีถ้าเป็นหนังสือพิมพ์ หากเห็นเว็บไซต์ก็จะมีแบบฟอร์มอยู่แต่ก็ไม่ยาวมาก ส่วนของคำแปลภาษาไทยนี้ตัดออกหรือให้คิดว่าเป็นส่วนหนึ่งของพาดหัวข่าว
ส่วนคำโปรยมาจากไหนก็มาจากคำสรุปท้ายกระทู้ เราก็ยกมาเป็นคำโปรยของข่าวสรูปให้ได้ใจความสั้นประมาณสองบรรทัด ถ้ดจากพาดหัวข่าว
หลังจากนั้นก็จะเป็นส่วนของเนื้อหา ก็จะมีองค์ประกอบคือใคร ทำอะไรที่ไหน เมื่อใด อย่างไร ก็จะเรียงใหม่เป็นเมื่อใดคือวันเดือนปี ที่ไหนก็คือสถานที่ของเนื้อหา ใคร บอกชื่อนามสกุลตำแหน่งให้ครบและต้องสะกดให้ถูกต้อง อะไร อย่างไร ซึ่งช่วงเนื้อหานี้เราก็เอาข้อมูลต่างๆมาใส่ที่เป็นส่วนที่สำคัญเรียงตามลำดับ หรือจะยึดหลักอริยสัจสี่ หลักการทำวิจัยหรือการเขียนบทความ
เมื่อเอาเนื้อเพิ่มหรือเอาสุุภาษิตมาเชื่อทำเป็นพาดัวเรื่องใหม่ หรือเรียกว่าซับเฮดเป็นตอนๆ เมื่อความเข้าใจของเนื้อหาและไม่ติดกันยาวมากเกิ่นไป สวนความยาวของข่าวนั้นแล้วแต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ถ้าเป็นเว็บไซต์ควรที่กระซับไม่น่าจะเกินหนึ่งกระดาษเอสี่ ลองเขียนดูนะครับ เบื้องต้นเอาแบบฟอร์มในการเขียนให้ได้ก่อน เรื่อยมาจนถึง ใคร ส่วนอะไร กับอย่างไรนี้ค่อยๆ ใส่เพิ่มเข้าไป ฝึกไปเรื่อยๆ เดี๋ยวก็ชำนาญ เกิดทักษะพอผมรู้ว่ามีข่าวและประเด็นอะไรที่น่าสนใจผมจะคิดพาดหัวเป็นอันดับแรกจะพาดหัวอย่างไรให้คนสนใจ ส่วนโปรย เนื้อหาว่ากันทีหลัง เขาถึงว่าเริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
เคยถามว่าข่าวกับพีอาร์ต่างกันตรงไหนตอบก็คือตรงอัตตาและอนัตตา การสื่อข่าวเชิงพุทธพัฒนาพระสื่อข่าว ข่าวดีแต่ไม่มีประเด็นหรือประเด็นซ้ำจะทำอย่างไรเพราะลงไปก็ไม่มีคนอ่านเชยแล้วจะอย่างไรตอบก็ต้องทำประเด็นเพิ่มที่เรียกว่าทำข่าวหรือไม่ก็เอาไปต่อข่าวลักษณะ เดี่ยวกัน การสื่อสารเชิงพุทธพัฒนาพระสื่อข่าวต้องรู้จักสร้างภาพแทนพันคำก็ลองคิดดูว่าหน้าตรงจะแทนคำได้กี่คำ จัดอบรมสัมมนาอย่างไรให้เป็นข่าวถ้าไม่ต้องการให้มวลชนรู้ก็ไม่ต้องตอบจัดไปแต่ถ้าต้องๆคิดตั้งแต่คิดจัดจะมีประเด็นอะไรที่เป็นข่าวแล้วต้องการคนอ่านกี่คน พุทธสันติวิธี 4.0 สร้างสรรค์สังคมไทย การสื่อข่าวเชิงพุทธจะต้องมีความเป็นอนัตตาสูง อีกหลายด่านการจะเป็นจอหงวน ยอมรับที่ผ่านมาได้ เพราะการวางแผนการเรียนตั้งแต่ระดับปริญญาโท โดยเขียนงานในลักษณะของการเขียนบทความทางวิชาการทุกครั้ง ทำให้ความคิดเป็นระบบ ไม่ออกนอกกรอบหรือฟุ้งไปมาก บวกกับทักษะของการเขียนงานทุกวันจึงทำให้ผ่านมาได้ด่านแรก
ถามว่าเรียนแล้วได้อะไรอายุมากแล้ว สิ่งที่ได้คือการฝึกทักษะหัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ สุคือฝึกเป็นคนฝึกอย่างตั้งใจรู้จักฟังคนอื่นเขาบ้าง จิ คือ ฝึกคิดคือคิดวิเคราะห์ รู้จักแยกแยะไม่เหมารวม หรือหากจะเหมารวมก็ผ่านกระบวนการของการคิดแบบแยบคายหรือโยนิโสมนสิการหรือตามหลักกาลามสูตร และที่สำคัญหรือฝึกที่จะไม่คิดคือฝึกที่จะรู้หรืออยู่กับอารมณ์ปัจจุบันหรือปัจจุบันขณะด้วยการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ปุ คือ คือฝึกการถามรู้จักถามไม่ใช่สักว่าแต่ถามหรืออยากถาม พร้อมกันนี้ยังฝึกการพูดตามหลักการสื่อสารเพื่อสันติภาพเชิงพุทธคือศีลข้อสี่ วาจาสุภาษิต ไม่พูดให้เกิดการเกลียดชัง เสียดสี ลิ คือการเขียนโดยฝึกการหาประเด็นที่จะนำมาเขียนในหน้าที่การงาน และเขียนบทความทางวิชาการและเขียนวิทยานิพนธ์ว่ามีลักษณะในการเขียนอย่างไรถึงจะมียอดคนอ่านมากๆๆ ยิ่งไปกว่านั้นก็คือฝึกทดลองปฏิบัติจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแบบฟาร์มสันติวิถีพอเพียง ไม่ใช่สักว่าแต่เรียนแบบความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด ไปขึ้นทะเบียนคนจนก็ถูกตำหนิทั้งๆ ที่รัฐเปิดสิทธิก็ได้รักษาสิทธิก็เท่านั้น เพราะเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือรายได้ แต่ถ้าตั้งเกณฑ์อย่างอื่นเช่นความสุข เขาอาจะไม่ไปลงก็ได้
พร้อมกันนี้ต้องเข้าใจ โพสต์ดราม่าหรือโพสต์คุณค่ายุคไทยแลนด์4.0 พระปราโมทย์ วาทโกวิโท นิสิตปริญญาเอก สาขาสันติศึกษา มจร รายงานว่า
ในโลกออนไลน์มีเรื่องราวมากมายทั้งเชิงลบและเชิงบวก ถ้าเราโพสต์ แชร์ คอมเมนต์ ด้วยภาวะอันขาดสติและมีอคติเพียงครั้งเดียวอาจจะนำไปสู่การใช้ชีวิตหรือการทำงานเพียงชั่วข้ามคืน อาจจะดังแบบบวกหรือดังแบบลบก็ได้ จากการศึกษาและการตกผลึกการโพสต์ในปัจจุบันนั้นสามารถแบ่งออก 3 ประเภท ในสื่อออนไลน์ โดยมีเฟชบุคเป็นสำคัญ คือ
1)"การโพสต์ธรรมดา" หมายถึง การโพสต์ทั่วไป เป็นอัตเดทชีวิตประจำ หรือการไปเที่ยวที่ใดก็โพสต์ วิวทิวทัศน์ เป็นการบอกเรื่องราว การโพสต์ธรรมดา" อ่านแล้วจิตใจอยู่ในระดับเท่าเดิม " ชีวิตผู้อ่านผู้โพสต์ไม่แย่ลงแต่ก็ไม่ดีขึ้น
2)"การโพสต์ดราม่า "หมายถึง การโพสต์ไปแล้วทำให้ตนเองและคนอื่นมีจิตใจแย่ลง เช่น การด่าทุกประเภท การบ่นชีวิต บ่นรถติด บ่นทุกรูปแบบ การประชดอะไรบางอย่าง มีการแชร์ในทางลบ ในการโพสต์ดราม่า "อ่านแล้วจิตใจต่ำลง"
3)"การโพสต์คุณค่า" หมายถึง การโพสต์แล้วทำให้จิตใจสูงขึ้น โพสต์แล้วกลับมาอ่านก็ยังทำให้รู้สึกจิตใจสูงขึ้น เช่น ประสบความผิดหวังในชีวิตแทนที่จะโพสต์ดราม่ากลับโพสต์คุณค่า ที่ทำให้เราเข้าใจชีวิตมากขึ้น ทำให้เราได้ข้อคิดจากความผิดหวัง เป็นการโพสต์คำคม ข้อคิด หรือแชร์ข้อความดีๆ ที่ช่วยให้สังคมได้ข้อคิด แบ่งความรู้เพื่อให้สังคมดีขึ้น หรือ การโพสต์ข่าวสารทางบวกช่วยจรรโลงจิตใจ ถือว่าเป็นการโพสต์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่นสังคม
ประเด็นการโพสต์แบบดราม่า "เราต้องหาคุณค่าในดราม่าให้เจอก่อน " แล้วค่อยโพสต์ หมายถึง การหาคุณค่าในเรื่องดราม่าให้เจอก่อนโพสต์ เราเห็นใครทำอะไร ผิด เห็นใครทำอะไรพลาด อย่าเพิ่งแชร์หรือด่า เราต้องหาคุณค่าจากดราม่าให้เจอค่อยโพสต์ เราจะต้องฝึก หรือเวลามีเรื่องแย่ๆ กับเรา จงหาคุณค่าก่อนโพสต์ เพราะ " ในเรื่องดราม่ามีคุณค่าซ่อนอยู่เสมอ " คนทำผิดสอนเราว่าอย่าทำแบบนั้น คนทำพลาดสอนเราว่าอย่าทำแบบนั้น เราเจอเรื่องแย่ๆ ต้องกลับสอนตนเองว่าเราจะพัฒนาเองไม่แย่อีกอย่างไร เรื่องราวดราม่าที่เกิดขึ้นจะมีคุณค่าเสมอ หาให้เจอค่อยแชร์ค่อยโพสต์ เพราะสิ่งเราโพสต์ไปไม่สามารถย้อนคืนได้
บางครั้งจะกลับไปลบไม่ทันแล้ว เพราะเข้าไปอยู่ในกระทู้หรือความทรงจำของผู้คนเรียบร้อยแล้ว คิดก่อนโพสต์ พอมีเรื่องดราม่าเกิดขึ้น บอกตนเองว่า นิทานเรื่องนี้สอนให้เรียนรู้เรื่องอะไร ทุกครั้งที่จะโพสต์เรื่องดราม่าต้องคิดเสมอว่า " นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า " เราเห็นใครกำลังมีความทุกข์ เราอย่าไปแบ่งความทุกข์คนอื่นมาเป็นความทุกข์ของเรา ดราม่าได้แต่ต้องบอกว่า " นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า " ยิ่งเราโพสต์ แชร์ คอมเมนต์ ดราม่ามากๆ ชีวิตเราจะมีแต่เรื่องดราม่า เพราะเราให้ความสนใจสิ่งใด ใจจะดึงดูดสิ่งนั้น แต่ถ้าเราให้ความสนใจโพสต์ แชร์ คอมเมนต์ แบ่งปัน กดไลท์ เรื่องราวที่มีคุณค่า ชีวิตเราก็จะเจอแต่เรื่องดีๆ มีคุณค่ามีความสุขประสบความสำเร็จ
ในชีวิต " จงเป็นมนุษย์ที่มุ่ง มอบคุณค่า ไม่เป็นมนุษย์ที่มุ่ง สร้างดราม่า " เป็นการสร้างสังคมที่งดงามจากปลายนิ้วของเราเอง โดยเราทุกคนช่วยกันแชร์คุณค่ามากกว่าแชร์ดราม่า สังคมเรามีดราม่าเยอะมาก เป็นพลังลบ เราต้องช่วยกันแชร์พลังบวก คือ โพสต์คุณค่า ฝึกพลิกใจจากลบมาเป็นบวก เทคโลโลยี 4.0 แต่บางครั้งจิตใจเรายัง 0.4 เทคโนโลยีเป็นของกลางๆ ใช้ให้เกิดคุณค่าหรือดราม่าก็ได้ เราต้องใช้เทคโนโลยีให้มีสติและปัญญา การสร้างสังคมของเราให้น่าอยู่เมื่อเราช่วยกันโพสต์คุณค่ามากกว่าดราม่า
ฉะนั้น การโพสต์จึงมี 3 ประการ คือ โพสต์ธรรมดา โพสต์ดราม่า โพสต์คุณค่า สังคมจะน่าอยู่ถ้าเราช่วนกันโพสต์สิ่งที่เป็นคุณค่า แต่ถ้ามีเหตุต้องโพสต์ดราม่าจึงบอกว่า " เรื่องราวนี้สอนให้เรารู้ว่า " จึงมีคำสอนเรื่องการสื่อสารในโลกออนไลน์เตือนเราว่า "อย่าใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ด้วยภูมิปัญญาขั้นต่ำ" แม้จะทำความดีแล้วยังมีเรื่องราวดราม่าจงมองคุณค่าให้เจอให้เรื่องราวนั้น เพราะตาที่สวยที่สุด คือ ดวงตาที่มองความดีคุณค่าของคนอื่น http://www.banmuang.co.th/news/education/95050
ขณะที่ช่องทางนั้นในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นยุคดิจิทัลมีลักษณะหลอมรวมเป็นเครือข่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งช่องทางสื่อออนไลน์ บวกกับมีนวัตกรรม(การพัฒนาสิ่งใหม่ๆ จากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้พัฒนาขึ้นในด้านต่างๆ ทั้งตัวผลิตภัณฑ์ ประโยชน์ การใช้ คุณภาพ ฯลฯ ได้ทั้งสิ่งของ) ด้านการสื่อสาร(Inovation of Communication) ความหมายของ "นวัตกรรม" ที่ได้นำเทคโนโลยีขั้นสูงมาประยุกต์ใช้คือปัญญาประดิษฐ์ AI ทำให้ประสิทธิภาพในการสื่อสารสูงทั้งด้านบวกและลบ ทั้ง Internet of Thinng = IOT (การเชื่อมโยงอุปกรณ์ทั้งหมดที่เราใช้ในชีวิตประจำวันให้สามารถควบคุมได้จากระยะไกลผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆ) Innovation of Goods นวัตกรรมทางเศรษฐกิจ Innovation Hubs Intographic International
ดังนั้นทำให้สื่อออนไลน์มีลักษณะหลอมรวม (Online Muti Journatitsm) และมีการหลอมรวมรูปแบบที่หลากหลาย (Muti Platform) โดยการรใช้สื่อออนไลน์ยุคไทยแลนด์๔.๐ นั้น ด้านเนื้อหาไม่ใช่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎี ๕W๑H เท่านั้นแต่ต้องมากกว่า (เขมทัต) ซึ่งเนื้อหาต้องประกอบด้วย AR VR MR รวมถึง AI ด้านผู้ส่งสารนั้นสามารถพัฒนาโดยเป็นตัว J ต่างๆ ด้านช่องทางพัฒนาถึงขั้นสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ มีการหลอมรวมเป็นเครือข่าย ที่มีลักษณะ ๓ ร คือ รวดเร็ว ไร้พรมแดน และการเป็นเครือข่าย เช่น Website YouTube facebook Instagram - Ig Line Application IOT AI (Artificial Intelligence คือ หุ่นยนต์ ใช้ธุรกิจออนไลน์สู้ สร้างวิวสูงสร้างข่าวได้ ๓ หมื่นชิ้นต่อเดือน robotics AR Augument Reality เสมือนจริง กราฟิก VR Virtual Reality เสมือนจริง VTR หมายถึง สื่อวีดีทัศน์หรือวิดีโอซึ่งใช้สำหรับบันทึกภาพและเสียง ส่วนมากมักหมายถึงวิดีโอแนะนำบุคคล องค์กร หรือสถานที่โดยย่อเพื่อให้ผู้ชมเกิดความคุ้นเคยและได้รับข้อมูลที่สำคัญเบื้องต้นเกี่ยวกับบุคคล หรือสิ่งที่จะได้สัมผัสหลังจากที่ได้ชม VTR แล้ว เช่น VTR แนะนำองค์กรจะทำให้ผู้ชมได้รับข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรว่าทำอะไร มีใครเป็นผู้บริหารบ้าง และอื่น ๆ ก่อนที่จะได้ฟังการบรรยายจากตัวแทนขององค์กร เป็นต้น http://www.xn--12c0ecxsex2q.com/
บวกกับรัฐบาลกำลังพัฒนา Data - Big Data Goverment ประกอบด้วย Data Analytic Open Data Base Analytics Cloud Services อย่างเช่น Amazon และ Alibaba or MCU Hard ware Soff Ware and Data center พร้อมกับประสิทธิภาพของยุคดิจิทัลที่ประกอบด้วย Digital Communications Digital Entrepreneurship Digital Learnings Digital Politics Digital Commerce Digital Innovations Digital City Digital Cafe Digital Sciene Digital Transformation หมายถึง ข่าวสร้างราคาได้บนฐานของการทำสิ่งที่คนอยากรู้ ขยายข้อมูลข่าว ต่อยอดประเด็นข่าว แตกต่างจากคนอื่น สื่อต้องทำ Big Data เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้รับสาร Digital Nomad สัมภเวสี "การดำเนินชีวิตประจำวันไม่ติดอยู่กับที่ อาศัยเทคโนโลยีและสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร โดยสามารถนั่งทำงานตามร้านกาแฟ สวนสาธารณะ ชายทะเล ผาน้ำตก ริมขอบเหว ซึ่งสามารถทำงานได้" (https://thematter.co/sponsor/digital-nomad/47134) รวมถึง IBSC MCU มีการพัฒนา Digital Library MCU ประกอบด้วย Organization World MCU Classroom Contant Big Data Application Mind Sharing Caring Digital Literacy is for Social Enterprise Algorithm Platform Transformation ความเข้าใจ รู้เท่าทัน เพราะเห็นประสิทธิภาพของการสื่อสารดังกล่าว
อย่างไรก็ตาม เฟซบ๊ิก (facebook)นั้นมีประวัติคือ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 Mark Zuckerburgได้เปิดตัวเว็บไซต์ facebookซึ่งเป็นเว็บประเภท social network ที่ตอนนั้น เปิดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น และเว็บนี้ก็ดังขึ้นมาในชั่วพริบตา เพราะแค่เพียงเปิดตัวได้สองสัปดาห์ ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ก็สมัครเป็นสมาชิก facebookเพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่มมีความต้องการ และอยากขอเข้าใช้งาน facebookบ้างเหมือนกัน มาร์คจึงได้ชักชวนเพื่อนของเค้าที่ชื่อ Dustin Moskowitzและ Christ Hughes เพื่อช่วยกันสร้าง facebookและเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น facebookจึงได้เพิ่มรายชื่อและสมาชิกของมหาวิทยาลัยอีก 30 กว่าแห่ง ไอเดียเริ่มแรกในการตั้งชื่อ facebookนั้นมาจากโรงเรียนเก่าในระดับมัธยมปลายของมาร์ค ที่ชื่อฟิลิปส์เอ็กเซเตอร์อะคาเดมี่ โดยที่โรงเรียนนี้ จะมีหนังสืออยู่หนึ่งเล่มที่ชื่อว่า The Exeter Face Book ซึ่งจะส่งต่อ ๆ กันไปให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้รู้จักเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ซึ่ง face book นี้จริง ๆ แล้วก็เป็นหนังสือเล่มหนึ่งเท่านั้น จนเมื่อวันหนึ่ง มาร์คได้เปลี่ยนแปลงและนำมันเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ต เมื่อประสบความสำเร็จขนาดนี้ ทั้งมาร์ค ดัสติน และ ฮิวจ์ ได้ย้ายออกไปที่ Palo Alto ในช่วงฤดูร้อนและไปขอแบ่งเช่าอพาร์ทเมนท์ แห่งหนึ่ง หลังจากนั้นสองสัปดาห์ มาร์คได้เข้าไปคุยกับ ชอน ปาร์คเกอร์ (Sean Parker) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Napster จากนั้นไม่นาน ปาร์คเกอร์ก็ย้ายเข้ามาร่วมทำงานกับมาร์คในอพาร์ตเมนท์ โดยปาร์คเกอร์ได้ช่วยแนะนำให้รู้จักกับนักลงทุนรายแรก ซึ่งก็คือ ปีเตอร์ธีล (Peter Thiel) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Paypalและผู้บริหารของ The Founders Fund โดยปีเตอร์ได้ลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 500,000 เหรียญสหรัฐฯ ด้วยจำนวนสมาชิกหลายล้านคน ทำให้บริษัทหลายแห่งสนใจในตัว facebookโดย friendsterพยายามที่จะขอซื้อ facebookเป็นเงิน 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในกลางปีพ.ศ. 2548 แต่ facebookปฎิเสธข้อเสนอไป และได้รับเงินทุนเพิ่มเติมจาก Accel Partners เป็นจำนวนอีก 12.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในตอนนั้น facebookมีมูลค่าจากการประเมินอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านเหรียญสหรัฐฯ facebookยังเติบโตต่อไป จนถึงเดือนกันยายนปีพ.ศ. 2549 ก็ได้เปิดในโรงเรียนในระดับมัธยมปลาย เข้าร่วมใช้งานได้ และในเดือนถัดมา facebookได้เพิ่มฟังค์ชั่นใหม่ โดยสามารถให้สมาชิก เอารูปภาพมาแบ่งปันกันได้ ซึ่งฟังชั่นนี้ได้รับความนิยมอย่างล้นหลาม ในฤถูใบไม้ผลิ facebookได้รับเงินจากการลงทุนเพิ่มอีกของ Greylock Partners, Meritech Capitalพร้อมกับนักลงทุนชุดแรกคือ Accel Partners และ ปีเตอร์ธีล เป็นจำนวนเงินถึง 25 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมูลค่าการประเมินมูลค่าในตอนนั้นเป็น 525 ล้านเหรียญ หลังจากนั้น facebookได้เปิดให้องค์กรธุรกิจหรือบริษัทต่าง ๆ ให้สามารถเข้าใช้งาน facebookและสร้าง network ต่าง ๆ ได้ ซึ่งในที่สุดก็องค์กรธุรกิจกว่า 20,000 แห่งได้เข้ามาใช้งาน และสุดท้ายในปีพ.ศ. 2550 facebookก็ได้เปิดให้ทุกคนที่มีอีเมล์ ได้เข้าใช้งาน ซึ่งเป็นยุคที่คนทั่วไป ไม่ว่าเป็นใครก็สามารถเข้าไปใช้งาน facebookได้เพียงแค่คุณมีอีเมล์เท่านั้น ในช่วงฤดูร้อนปี 2550 ครั้งนั้น Yahoo พยายามที่จะขอซื้อ facebookด้วยวงเงินจำนวน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีรายงานว่ามาร์คได้ทำการตกลงกันด้วยวาจาไปแล้วด้วยว่า จะยอมขาย facebookให้กับ Yahoo และเพียงแค่สองสามวันถัดมา หุ้นของ Yahoo ก็ได้พุ่งขึ้นสูงเลยทีเดียว แต่ว่าข้อเสนอซื้อได้ถูกต่อรองเหลือเพียงแค่ 800 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทำให้มาร์คปฎิเสธข้อเสนอนั้นทันที ภายหลังต่อมา ทาง Yahoo ได้ลองเสนอขึ้นไปที่ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ อีกครั้ง คราวนี้มาร์คปฎิเสธYahoo ทันที และได้รับชื่อเสียงในทางไม่ดีว่า ทำธุรกิจเป็นเด็กฯ ไปในทันที นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่มาร์คปฎิเสธขอเสนอซื้อบริษัท เพราะเคยมีบริษัท Viacom ได้เคยลองเสนอซื้อ facebookด้วยวงเงิน 750 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และถูกปฎิเสธไปแล้วในเดือนมีนาคมปี 2550 มีข่าวอีกกระแสหนึ่งที่ไม่ค่อยดีสำหรับ facebookที่ได้มีการโต้เถียงกันอย่างหนัก กับ Social Network ที่ชื่อ ConnectUโดยผู้ก่อตั้ง ConnectUซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับมาร์ค ซัคเคอร์เบิร์กที่ฮาเวิร์ด ได้กล่าวหาว่ามาร์คได้ขโมยตัว source code สำหรับ facebookไปจากตน โดยกรณีนี้ได้มีเรื่องมีราวไปถึงชั้นศาล และตอนนี้ได้แก้ไขข้อพิพาทกันไปเรียบร้อยแล้ว ถึงแม้ว่าจะมีข้อพิพาทอย่างนี้เกิดขึ้น การเติบโตของ facebookก็ยังขับเคลื่อนต่อไป ในฤดูใบไม่ร่วงปี 2551 facebookมีสมาชิกที่มาสมัครใหม่มากกว่า 1 ล้านคนต่อสัปดาห์ โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่วันละ 200,000 คน ซึ่งรวมกันแล้วทำให้ facebookมีสมาชิกมากถึง 50 ล้านคน โดย facebookมียอดผู้เข้าชมเฉลี่ยอยู่ที่ 40,000 ล้านเพจวิวต่อเดือน จากวันแรกที่ facebookเป็น social network ของนักศึกษามหาวิทยาลัย จนวันนี้ สมาชิกของ facebook 11% มีอายุมากกว่า 35 ปี และสมาชิกที่มีอายุมากกว่า 30 ปีก็เข้ามาสมัครใช้ facebookกันเยอะมาก นอกเหนือจากนี้ facebookยังเติบโตอย่างยิ่งใหญ่ในตลาดต่างประเทศอีกด้วย โดย 15% ของสมาชิก เป็นคนที่อยู่ในประเทศแคนาดา ซึ่งมีรายงานออกมาด้วยว่า ค่าเฉลี่ยของสมาชิกที่มาใช้งาน facebookนั้นอยู่ที่ 19 นาทีต่อวันต่อคน โดย facebookถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกาและเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้อัพโหลดรูปภาพสูงที่สุดด้วยจำนวน 4 หมื่นหนึ่งพันล้านรูป จากจำนวนสถิติเหล่านี้ ไมโครซอฟต์ได้ร่วมลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 240 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อแลกกับหุ้นจำนวน 1.6 % ในเดือนตุลาคม 2551 ทำให้มูลค่ารวมของ facebookมีมากกว่า 15,000 ล้านบาท และทำให้ facebookเป็นบริษัทอินเทอร์เน็ตที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 5 ในหมู่บริษัทอินเทอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา ด้วยมูลค่ารายรับต่อปีเพียงแค่ 150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หลายฝ่ายได้อธิบายว่า การตัดสินใจของไมโครซอฟต์ในครั้งนี้ทำเพียงเพื่อที่จะเอาชนะ Google ซึ่งเป็นคู่แข่งขันที่จะขอซื้อ facebookในครั้งเดียวกันนั้น
๒.๑.๔ หลักการ ลักษณะ ประเภท และวิธีการ
๒.๑.๕ อิทธิพล ประโยชน์และคุณค่า ยุคข่าวปลอมว่าเหนื่อยแล้ว..อนาคต “ปัญญาประดิษฐ์”ยังสร้าง “รีวิวปลอม”ให้อ่านเคลิ้มได้อีก https://www.prachachat.net/spin…/spinoff-featured/news-67023 ในยุคที่ผู้คนเสพคอนเทนต์ข่าว เนื้อหา เรื่องราว ผ่านโซเชียลมีเดีย และโลกออนไลน์ ทำให้วาระของโลก เรื่อง “ข่าวปลอม” หรือ Fake News ปรากฎเป็นประเด็นใหญ่ระดับโลก โดยเฉพาะช่วงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐที่ทำให้ประเด็น “ข่าวปลอม” ถูกจุดให้ต้องมีการหาวิธีรับมือ เพราะการแพร่ข่าวปลอมที่ไปเกาะเกี่ยวกับประเทศอื่นที่ทำตัวเป็น “ขบวนการ” ในการแทรกแซงการเลือกตั้ง ประเด็น “ข่าวปลอม” โดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดียยักษ์อย่างใน “เฟซบุ๊ค” ทำให้เฟซบุ๊คเองออกมาตรการวางกฎ และเขียนอัลกอริธึ่ม “กรองข่าว” ให้ละเอียดมากขึ้น โดยเฉพาะเหตุการณ์ใหญ่ๆทางการเมืองในหลายประเทศ แต่ล่าสุด “ข่าวปลอม” อาจต้องชิดซ้าย เมื่อต่อไปเราอาจต้องเผชิญสิ่งที่เรียกว่า “รีวิวปลอม” หรือการบรรยายสรรพคุณสินค้าและบริการปลอม คำว่า Fake online reviews หรือการแสดงความเห็นปลอมนี้ ต่างกับการเขียนโฆษณาชวนเชื่อทางอินเทอร์เน็ตแล้วโพสต์เชิงขายของ หรือเชียร์ ตรงที่ วิธีนี้จะไม่ใช่ฝีมือ “มนุษย์อวย” แต่เป็นปรากฎการณ์ “ปัญญาประดิษฐ์อวย” หรือ เอไอ ที่ถูกพัฒนาซอร์ฟแวร์ให้ฉลาดขึ้นจนสามารถเขียน “รีวิวออนไลน์” ได้แบบสุดโต่ง “รีวิวปลอม”นี้ จะมีผลกระทบกับบรรดาเว็บไซต์ยักษ์ใหญ่ที่ทำธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ เช่น อเมซอน เป็นต้น ซึ่งจะทำให้ลูกค้าออนไลน์หลงเชื่อในสรรพคุณของการรีวิวปลอมของสินค้า ซึ่งเขียนโดย “เอไอ” นั่นเอง ความเป็นห่วงถึงอนาคตนี้ เพราะเชื่อว่า “เอไอ” จะสามารถเขียนข้อความที่ชวนซาบซึ้ง และทำให้สาธารณชน ผู้อ่านทั่วไปเกิดความเชื่อ และแพร่กระจายรีวิว หรือการแสดงความเห็นปลอมนี้ออกไป ไม่ต่างจาก “ข่าวปลอม” เพราะผู้คนยุคนี้นิยมอ่านรีวิวออนไลน์เพื่อมองหาร้านอาหาร หรือหาที่พักโรงแรมที่ถูกใจผ่านการรีวิวจากผู้อื่น กังวลกันว่า “รีวิวปลอม” ที่เกิดขึ้นจากระบบปัญญาประดิษฐ์ อาจมีผลต่อธุรกิจหลายประเภทที่พึ่งพาการรีวิวจากคนอ่านในการทำการตลาด และสร้างลูกค้า ถึงตรงนี้การแยกแยะว่า เป็นรีวิวจากมนุษย์ หรือเอไอ ก็จะยิ่งยากขึ้นไปอีก และอย่าคิดประมาท “เอไอ” เพราะงานวิจัยจาก มหาวิทยาลัยชิคาโก ที่นำเสนอในงานประชุมด้านคอมพิวเตอร์และความมั่นคงด้านการสื่อสารที่จัดขึ้นปีนี้ แสดงให้ผู้ร่วมประชุม ได้อ่านเนื้อหา ที่ทำให้เห็นศักยภาพว่า “เอไอ” ทำหน้าที่อย่างดีในพัฒนาการเขียนรีวิวขั้นสูง และสามารถจะจูงใจ “คนอ่าน” บางกลุ่มได้ กระทั่งต้องมีการนำตัวอย่าง รีวิวจริงและปลอม หลายประโยค มานั่งวัดผลให้คนอ่านดูว่า คุณคิดว่าอันไหนจริง หรือปลอม โลกมาถึงขนาดที่ “รีวิวออนไลน์” เป็นเรื่อง “ธุรกิจ” ในอนาคต เพราะรีวิวปลอมจากเอไอทำได้ทั้งแบบเขียนเชิงลบ กับ เชิงบวก สามารถสร้างกระแสความไม่พอใจในตัวสินค้า บริการ หรือผลิตภัณฑ์ ได้พอๆ กับการอวยชื่นชม และแน่นอนว่า มีการคาดการณ์ว่า บางธุรกิจจะมีการยอมจ่ายเงินเพื่อแลกกับ “รีวิวปลอม” ใต้สินค้า-บริการ ที่จะชมหรือด่าก็ย่อมได้ และที่สุดในฐานะคนอ่านอย่างเรา จะบอกได้หรือไม่ว่า รีวิวที่เราอ่านเป็น “ของจริง” หรือ “
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น