วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

เพลงพระเสียดายแดดต้นแบบพอเพียง

แต่งโดยส.สมพงษ์ 

สร้างสรรค์โดย suno

(Verse 1)

เสียดายแดดเกียรติก้องเกรียงไกร

ศาตราจารย์พระราชานำชัยส่องจ้า

ผุดเขตพุทธารยเกษตรติดตั้งโซล่า

สว่างทั่วโลกาแนวพัฒนาต้นทุนต่ำ


(Chorus)

พระเสียดายแดดคือพระนพพร

วัดป่าศรีแสงธรรมงามอุบลสง่า

พุทธอารยเกษตรชั่งสุดงามตาม

ได้ชักชวนญาติโยมให้มั่นทำ


(Verse 2)

วัยเด็กพระอาจารย์แสนลำบาก

พ่อแม่พรากแยกทางจนเติบใหญ่

มุ่งหน้าจากศรีสะเกษสู่กรุงผจญภัย

เห็นความนัยชีวิตไร้แก่นมุ่งสู่ธรรม


(Chorus)

พระเสียดายแดดคือพระนพพร

วัดป่าศรีแสงธรรมงามอุบลสง่า

พุทธอารยเกษตรชั่งสุดงามตาม

ได้ชักชวนญาติโยมให้มั่นทำ


(Bridge)

วัดป่าศรีแสงธรรมเป็นทุ่งนาร้าง

พระเพียรสร้างโซล่าสื่อสารธรรม

ดึงเด็กด้อยโอกาสศึกษาน้อมนำ

ศาสตร์พระราชาสว่างไสวทั่วโลก


(Chorus)

พระเสียดายแดดคือพระนพพร

วัดป่าศรีแสงธรรมงามอุบลสง่า

พุทธอารยเกษตรชั่งสุดงามตาม

ได้ชักชวนญาติโยมให้มั่นทำ


(Outro)

พระเสียดายแดดคือพระนพพร

วัดป่าศรีแสงธรรมงามอุบลสง่า

ศาสตร์พระราชาสว่างไสวทั่วโลก

พัฒนาต้นทุนต่ำ สู่ความยั่งยืน

...............

เสียดายแดดเกียรติก้องเกรียงไกร 

ศาตราจารย์พระราชานำชัยส่องจ้า

ผุดเขตพุทธารยเกษตรติดตั้งโซล่า 

สว่างทั่วโลกาแนวพัฒนาต้นทุนต่ำ


พระเสียดายแดดคือพระนพพร

วัดป่าศรีแสงธรรมงามอุบลสง่า

พุทธอารยเกษตรชั่งสุดงามตาม

ได้ชักชวนญาติโยมให้มั่นทำ


วัยเด็กพระอาจารย์แสนลำบาก

พ่อแม่พรากแยกทางจนเติบใหญ่

มุ่งหน้าจากศรีสะเกษสู่กรุงผจญภัย

เห็นความนัยชีวิตไร้แก่นมุ่งสู่ธรรม


วัดป่าศรีแสงธรรมเป็นทุ่งนาร้าง

พระเพียรสร้างโซล่าสื่อสารธรรม

ดึงเด็กด้อยโอกาสศึกษาน้อมนำ

ศาสตร์พระราชาสว่างไสวทั่วโลก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์

  การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์ ในปริบทพุทธสันติวิธี บทนำ พร...