ช่วยเขียนบทความทางวิชาการ เรื่อง "วิเคราะห์ อันธการสูตรในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ติกนิบาต ๔. จตุตถวรรค ที่ประกอบด้วย
๘. อันธการสูตร
[๒๖๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อกุศลวิตก ๓ ประการนี้ กระทำความมืด
มน ไม่กระทำปัญญาจักษุ กระทำความไม่รู้ ยังปัญญาให้ดับ เป็นไปในฝักฝ่าย
แห่งความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน อกุศลวิตก ๓ ประการเป็นไฉน คือ
กามวิตก ๑ พยาบาทวิตก ๑ วิหิงสาวิตก ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อกุศลวิตก
๓ ประการนี้แล กระทำความมืดมน ไม่กระทำปัญญาจักษุ กระทำความไม่รู้
ยังปัญญาให้ดับ เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน ฯ
[๒๖๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุศลวิตก ๓ ประการนี้ ไม่กระทำความมืดมน
กระทำปัญญาจักษุ กระทำญาณ ยังปัญญาให้เจริญ ไม่เป็นไปในฝักฝ่ายแห่ง
ความคับแค้น เป็นไปเพื่อนิพพาน กุศลวิตก ๓ ประการเป็นไฉน คือ เนกขัมม
วิตก ๑ อพยาบาทวิตก ๑ อวิหิงสาวิตก ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุศลวิตก ๓
ประการนี้แล ไม่กระทำความมืดมน กระทำปัญญาจักษุ กระทำญาณ ยังปัญญา
ให้เจริญ ไม่เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น เป็นไปเพื่อนิพพาน ฯ
พึงตรึกกุศลวิตก ๓ ประการ แต่พึงนำอกุศลวิตก ๓ ประการ
ออกเสีย พระโยคาวจรนั้นแล ยังมิจฉาวิตกทั้งหลายให้สงบ
ระงับ เปรียบเหมือนฝนยังธุลีที่ลมพัดฟุ้งขึ้นแล้วให้สงบ
ฉะนั้น พระโยคาวจรนั้น มีใจอันเข้าไปสงบวิตก ได้ถึง
สันตบทคือนิพพานในปัจจุบันนี้แล ฯ
ในปริบทพุทธสันติวิธี: หลักธรรม ประยุกต์ใช้" โดยใช้สาระสำคัญของ อันธการสูตร ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ติกนิบาต ๔. จตุตถวรรค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น