วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2568

วิเคราะห์ ธรรมสูตร

         ช่วยเขียนบทความทางวิชาการ เรื่อง "วิเคราะห์ ธรรมสูตร  ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย   อิติวุตตกะ ติกนิบาต  ๔. จตุตถวรรค  ที่ประกอบด้วย 

 ๗. ธรรมสูตร

             [๒๖๕] เมื่อภิกษุกล่าวว่า ผู้นี้ปฏิบัติธรรมอันสมควรแก่ธรรม เพื่อ

พยากรณ์ด้วยธรรมอันสมควรใด ธรรมอันสมควรนี้ ย่อมมีแก่ภิกษุผู้ปฏิบัติธรรม

อันสมควรแก่ธรรม ดังนี้ ชื่อว่าย่อมกล่าวธรรมอย่างเดียว ย่อมไม่กล่าวอธรรม

อนึ่ง เมื่อภิกษุตรึก ย่อมตรึกถึงวิตกที่เป็นธรรมอย่างเดียว ย่อมไม่ตรึกถึงวิตกที่ไม่

เป็นธรรม ภิกษุเว้นการกล่าวอธรรมและการตรึกถึงอธรรมทั้ง ๒ นั้น เป็นผู้มี

อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู่ ฯ

                          ภิกษุมีธรรมเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในธรรม ค้นคว้าธรรมอยู่

                          ระลึกถึงธรรมอยู่เนืองๆ ย่อมไม่เสื่อมจากพระสัทธรรม

                          ภิกษุเดินอยู่ก็ดี ยืนอยู่ก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี ให้จิตของ

                          ตนสงบอยู่ ณ ภายใน ย่อมถึงความสงบอันแท้จริง ฯ



ในปริบทพุทธสันติวิธี: หลักธรรม ประยุกต์ใช้" โดยใช้สาระสำคัญของ ธรรมสูตร  ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย  อิติวุตตกะ  ติกนิบาต   ๔. จตุตถวรรค

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

วิเคราะห์ ราหุลสูตร

       ช่วยเขียนบทความทางวิชาการ เรื่อง "วิเคราะห์   ราหุลสูตร   ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย   อิติว...