วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2568

วิเคราะห์ กุหนาสูตร ภิกษุประจบประแจง

         ช่วยเขียนบทความทางวิชาการ เรื่อง "วิเคราะห์   กุหนาสูตร ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย   อิติวุตตกะ จตุกกนิบาต  ที่ประกอบด้วย 

 ๙. กุหนาสูตร

             [๒๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดเหล่าหนึ่งเป็นผู้หลอกลวง มีใจ

กระด้าง ประจบประแจง ประกอบด้วยกิเลสอันปรากฏดุจเขา มีกิเลสดุจไม้อ้อ

สูงขึ้น มีใจไม่ตั้งมั่น ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ไม่นับถือเรา ภิกษุเหล่านั้นปราศไปแล้ว

จากธรรมวินัยนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย  ส่วนภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ไม่หลอกลวง ไม่

ประจบประแจง เป็นนักปราชญ์ มีใจไม่กระด้าง มีใจตั้งมั่นดี ภิกษุเหล่านั้นแล

เป็นผู้นับถือเรา ไม่ปราศไปแล้วจากธรรมวินัยนี้ และย่อมถึงความเจริญงอกงาม

ไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้ ฯ

                          ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้หลอกลวง มีใจกระด้าง ประจบประแจง

                          ประกอบด้วยกิเลสอันปรากฏดุจเขา มีกิเลสดุจไม้อ้อสูงขึ้น

                          มีใจไม่ตั้งมั่น ภิกษุเหล่านั้นย่อมไม่งอกงามในธรรมอันพระ-

                          สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ไม่

                          หลอกลวง ไม่ประจบประแจง เป็นนักปราชญ์ มีใจไม่

                          กระด้าง มีใจตั้งมั่นดี ภิกษุเหล่านั้นแล ย่อมงอกงามใน

                          ธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ฯ


ในปริบทพุทธสันติวิธี: หลักธรรม ประยุกต์ใช้" โดยใช้สาระสำคัญของ   กุหนาสูตร   ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย  อิติวุตตกะ   จตุกกนิบาต

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

วิเคราะห์ ราหุลสูตร

       ช่วยเขียนบทความทางวิชาการ เรื่อง "วิเคราะห์   ราหุลสูตร   ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 25  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่  17  ขุททกนิกาย   อิติว...