วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

กรุงปารีสมีห้องสมุดสันติภาพ ไทยสุดยอดกว่ามีร้านกาแฟนาฬิกาสันติภาพ



กรุงปารีสมีห้องสมุดสันติภาพ ไทยสุดยอดกว่ามีร้านกาแฟนาฬิกาสันติภาพ : สำราญ สมพงษ์ นิสิตปริญญาเอก สาขาสันติศึกษา มจร รายงาน

แหล่งรวบรวมข้อมูลของความรู้หรือปัญญานั้นนับได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญ หากมีข้อมูลมากๆ ก็จะเรียกว่า บิ๊กดาต้า(Big Data) เป็นแหล่งส่งเสริมความรู้ระดับสุตมยปัญญา แต่มนุษย์ก็จะต้องพัฒนาปัญญาอีก 2 ระดับ คือการวิเคราะห์๋หรือเรียกว่าจินตามยปัญญา และการสังเคราะห์หรือเรียกว่าภาวนามยปัญญา มีความสามารถดูดเราความรู้จากแหล่งต่างๆ ให้กลายมาเป็นของเราถึงจะสร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นได้ แต่หากมนุษย์ไม่มีทักษะด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์แล้วก็จะเป็นนักกอบปี้หรือเลียนแบบอย่างเดียวเท่านั้น

แหล่งเรียกรู้ที่สำคัญประการหนึ่งก็คือห้องสมุด อย่างเช่นหอสมุดแห่งชาติปัจจุบันนี้ก็ต้องมีการรณรงค์ให้คนไทยเข้าไปใช้บริการแล้ว เพราะคนรุ่นใหม่มีครูกูเกิ้ลคอยให้ความรู้อย่างสะดวกสบาย หรือห้องสมุดตามสถานที่ต่างๆ แต่ปัจจุบันนี้เป็นยุคดิจิทัลดังนั้นห้องสมุดที่อยู่ตามตึกอาคารต่างๆ ก็ควรจะมีการพัฒนาให้เป็นบิ๊กดาต้าออนไลน์ เพื่อที่คนรุ่นใหม่จะเข้าไปใช้บริการได้สะดวก แล้วไม่ต้องบ่นว่าคนไทยอ่านหนังสือน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะทำให้โปรแกรมปัญญาประดิษฐ์หรือเอไอที่ทำหน้าที่เป็นจินตามยปัญญาและภาวนามยปัญญาแทนมนุษย์ที่ประหยัดเวลาหรือว่าเอไอจะทำงาน 24 ชั่วโมงไม่ต้องมีเวลาพักผ่อนเหมือนมนุษย์

นับเป็นคุณูปการอย่างมาก! ที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) เดินทางเยือนกรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2561 เพื่อเข้าร่วมพิธีวันรำลึกการครบรอบ100ปี การยุติสงครามโลกครั้งที่ 1 และพิธีเปิดการประชุม Paris Peace Forum หรือสันติภาพปารีส   โดยได้นำหนังสือ 3 เล่ม เตรียมมอบให้ห้องสมุดสันติภาพ ได้แก่ 1. Sufficiency Thinking: Thailand’s gift to an unsustainable world 2. Thailand’s Sustainable Development Sourcebook และ3. A Call to Action: Thailand and The Sustainable Development Goals?

ที่บอกว่าเป็นคุณูปการอย่างมากก็คือได้ทราบว่าที่กรุงปารีสนั้นเขามีห้องสมุดสันติภาพเป็นการเฉพาะ นั้นแสดงให้เห็นว่าเขาให้ึความสำคัญกับแหล่งเรียนรู้ด้านสันติภาพ


ที่นี้หันมาดูประเทศไทยก็ให้ความสำคัญกับคำว่าสันติภาพเช่นเดียวกันมีมหาวิทยาลัยต่างๆ ตั้งหลักสูตรสันติศึกษาขึ้นมาถึงระดับปริญญาเอก รวมถึงมีการจัดโครงการอบรมเป็นการเฉพาะก็คือว่าเป็นสิ่งที่ดี ทำให้คนไทยมีแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสันติภาพและสันติวิธีในการบริหารจัดการความขัดแย้งมีความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าความขัดแย้งให้ถูกต้องว่า "มันเป็นเช่นนั้นเอง" 


แต่จากการสืบค้นคำว่า "ห้องสมุดสันติภาพ"  กลับไม่พบว่ามีในสถานการศึกษาหรือแหล่งต่างๆ ของประเทศไทยเลย ที่พบคือห้องสมุดสันติประชาธรรมเข้าใจว่าที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศูนย์ข่าวสารสันติภาพ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พบร้านหนังสือแห่งหนึ่งแถวคลองสาน ได้จัดโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์และห้องสมุดเพื่อสันติภาพ โดยมีการจัด "วงเสวนาตามหาความรุนแรงครั้งที่ 1: ความหมายระหว่างบรรทัดในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย" เมื่อปี 2558 หลังจากนั้นก็ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการของโครงการนี้อีกเลยหรือสืบค้นไม่ถึงก็ต้องขออภัยทาน


สิ่งที่พบคือ สถานที่และวัตถุที่นำคำว่าสันติภาพเข้าไปประกอบอย่างเช่น เครื่องประดับนาฬิกานาฬิกามีขนาดเล็กลงเพื่อสันติภาพ ร้านกาแฟสันติภาพใกล้ห้องสมุดประชาชน กทม. ซอยพระนาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สวนสันติภาพและวัดสันติธรรมที่มีอยู่หลายแห่งในประเทศไทย น่าจะเป็นสื่อให้คนไทยเข้าใจสันติภาพได้มากขึ้น


พร้อมกันนี้ยังพบบทบาทของมูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) อย่างเช่นเดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์องค์ความรู้(ห้องสมุดนาลันทา)  ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ เมื่อปี 2554  และร่วมมือกับกองพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดทำโครงการส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาขึ้น ในภาคเรียนที่ 1/2561 นี้ที่ห้องศูนย์พุทธศาสนาเพื่อสันติภาพ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ (ศูนย์วิทยบริการ (ห้องสมุด) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ขณะเดียวกันก็ได้พบบทบาทของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นิมนต์พระวัดป่าสายปฏิบัติศิษย์หลวงพ่อชา 2 รูป คือ พระอาจารย์ปสันโน เจ้าอาวาสวัดป่าอภัยคีรี มลรัฐแคลิฟอร์เนีย และพระอาจารย์ชยันโต เจ้าอาวาสวัดเชตวัน มลรัฐนิวแฮมเชียร์ปาฐกถาในหัวข้อพระพุทธศาสนากับหน ทางสู่สันติภาพและการยุติความขัดแย้ง ณ มหาวิทยาลัยยอร์จทาว์นในกรุงวอชิงตัน เมื่อปี 2559


ได้แต่หวังว่าเมื่อพล.อ.ประยุทธ์นายกรัฐมนตรีเดินทางกลับประเทศไทยแล้ว สนับสนุนให้สร้างห้องสมุดสันติภาพขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งจะทำให้คนไทยเข้าใจกับคำว่า "ความขัดแย้ง"  ได้ดีมากยิ่งขึ้นก็เป็นได้

เพราะว่าโลกในยุคปัจจุบันนี้ได้ก้าวเข้าไปสู่ยุคที่เรียกว่า “Big Data” หรือ “ข้อมูลอภิมหาศาล” เนื่องจากในแต่ละวันมีข้อมูลเกิดขึ้นมากมาย อาทิเช่น ข้อมูลสมาชิกของ Facebook ข้อมูลการซื้อสินค้าจากในซุปเปอร์มาร์เกตต่างๆ และเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดเราจำเป็นต้องนำข้อมูลอภิมหาศาลเหล่านี้มาทำการวิเคราะห์ (analyze) ซึ่งเทคนิคหนึ่งที่ได้รับการนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน คือ เทคนิค Data Mining ซึ่งเป็นเทคนิคที่ค้นหาความสัมพันธ์ในข้อมูล เช่น ถ้าลูกค้าซื้อเบียร์แล้วลูกค้าจะซื้อผ้าอ้อมร่วมไปด้วย หรือถ้าเรากด Like หน้า Facebook page เราจะเห็นว่า Facebook มีระบบแนะนำ page อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาให้ด้วย หรือ การสร้างโมเดลเพื่อทำนายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น ทำนายยอดขายในไตรมาสถัดไป หรือ การทำนายว่าพนักงานคนไหนที่จะลาออกจากบริษัทในช่วง 3 เดือนข้างหน้า ตัวอย่างเหล่านี้ล้วนเป็นผลมาจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน Data Mining

การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Data Mining นี้กำลังเป็นที่นิยมไปทั่วโลกด้วยแรงขับเคลื่อนอย่างหนึ่งคือ การมีซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้ทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น แต่ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (commercial software) เช่น SAS Enterprise Miner หรือ IBM Intelligent Miner ทว่าการลงทุนซื้อซอฟต์แวร์เชิงธุรกิจเหล่านี้มาใช้งานอาจจะไม่คุ้มค่าในการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรืออาจารย์ นักวิจัย และ นักศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ดังนั้นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้เราสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้ได้คือการใช้ open source software ที่สามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย (ฟรี !!!) เช่น ซอฟต์แวร์ Weka ผมคลุกคลีกับ Weka มาเป็นเวลาหลายปี เคยเขียนคู่มือการใช้งาน Weka Explorer ลงในนิตยสาร OpenSource2Day สร้างหลักสูตรการอบรมการใช้งาน Weka Explorer และอบรมการใช้งานซอฟต์แวร์ตัวนี้มาเป็นจำนวนเกือบยี่สิบรุ่น แม้ว่าซอฟต์แวร์นี้จะใช้งานได้ง่ายสำหรับผู้เริ่มต้นและสะดวกที่จะนำไปใช้ในการพัฒนา Web Application แต่ในหลายๆ ครั้งผมมักจะพบข้อจำกัดหรือความยากในการแสดงผลจากซอฟต์แวร์ตัวนี้ ดังนั้นผมจึงหันมาสนใจซอฟต์แวร์ตัวอื่นที่สามารถทดแทนหรือดีกว่าซอฟต์แวร์ Weka Explorer และผมก็พบกับซอฟต์แวร์ RapidMiner Studio 8 ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ทาง Data Mining ที่ได้รับการโหวตว่ามีผู้ใช้งานมากที่สุดจากเว็บไซต์ KDnuggets.com เมื่อปี 2013 ในหลักสูตรนี้ผมจะแนะนำให้คุณรู้จักการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining ตั้งแต่ระดับต้นจน (basic) จนถึงระดับกลาง (intermediate) ด้วยการใช้ซอฟต์แวร์ RapidMiner Studio 8 ซึ่งเป็นเวอร์ชันล่าสุด ถ้าคุณยังลังเลว่าคุณควรจะมาเข้าร่วมอบรมหลักสูตรนี้กับผมหรือไม่ ผมขอถาม 8 คำถามสั้นๆ ดังนี้ 

ดังนั้นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Data Mining แต่ไม่รู้จะเริ่มยังไงดี อยากรู้ว่าลูกค้าซื้อสินค้าอะไรเป็นส่วนใหญ่ อยากเข้าใจพฤติกรรมการบริโภทของลูกค้า อยากหยั่งรู้อนาคต (บางส่วน) อยากทำงานวิจัยทางด้าน text mining อยากทำงานวิจัยทางด้าน image processing ไม่ชอบการเขียนโปรแกรมแต่อยากวิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อนได้ เคยเข้าร่วมการอบรมการใช้งาน Weka Explorer มาแล้วและอยาก update ความรู้ทาง Data Mining ใหม่ๆ ด้วยซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ถ้าคุณตอบว่า “ใช่” ในคำถามข้อใดข้อหนึ่ง ผมขอแนะนำว่าคุณควรจะมาเข้าร่วมอบรมกับผมครับ และคุณจะรู้ว่าทำไมผมถึงเปลี่ยนใจจาก Weka Explorer มาตกหลุมรักซอฟต์แวร์ที่ชื่อว่า RapidMiner Studio 9 ครับ ^^

ปัจจุบันนี้มีหลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ นิสิต/นักศึกษาที่สนใจการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining และ open source software RapidMiner Studio 9 อาจารย์มหาวิทยาลัยที่ต้องการ update ความรู้ทางด้าน Data Mining และเรียนรู้การใช้งานซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่ดีขึ้น บุคลากรทางด้าน IT ที่ต้องการเพิ่มทักษะทาง Data Mining หน่วยงานหรือองค์กรที่ต้องการนำเทคนิค Data Mining และ open source software RapidMiner Studio 8 ไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ภายในองค์กรหรือทดแทน commercial software ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (SME) ที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าหรือการซื้อขายสินค้า เนื้อหาการอบรม (Course Outline)


แนะนำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining และการใช้ประโยชน์ในงานวิจัย แนะนำกระบวนการ CRISP-DM เบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล แนะนำส่วนต่างๆ ของซอฟต์แวร์ RapidMiner Studio 8 การนำข้อมูลไฟล์ Excel, CSV เข้ามาใช้ใน RapidMiner Studio 9 ลักษณะของแอตทริบิวต์ (attribute) ต่างๆ ในชุดข้อมูล การเขียนไฟล์ให้อยู่ในรูปแบบของ Excel และ CSV การแสดงข้อมูลในกราฟแบบต่างๆ เช่น scatter plot, time series การค้นหา Outlier ซึ่งเป็นข้อมูลที่แตกต่างจากข้อมูลอื่นๆ การค้นหาข้อมูลที่ผิดพลาด (missing value) และแทนที่ด้วยค่าที่กำหนดเองหรือค่าทางสถิติ การแปลงข้อมูลด้วยเทคนิค discretization แบบกำหนดช่วงเองหรือแบบอัตโนมัติ

การลดจำนวนข้อมูลด้วยการ sampling แบบต่างๆ การเลือกแอตทริบิวต์เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แนะนำการหากฏความสัมพันธ์ (association rules) และการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ แนะนำเทคนิคการหากฏความสัมพันธ์ด้วยเทคนิค Apriori และ FP Growth การแปลงข้อมูลจากฐานข้อมูล relation database ให้เป็นฐานข้อมูล transaction database การหากฏความสัมพันธ์ด้วยเทคนิค FP Growth ซึ่งเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

มีการ Workshop การหากฏความสัมพันธ์จากข้อมูลการซื้อสินค้าจำนวนมากกว่า 100,000 transactions ด้วย RapidMiner Studio 8
แนะนำการแบ่งกลุ่มข้อมูล (clustering) และการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ แนะนำตัววัดประสิทธิภาพของการแบ่งกลุ่มข้อมูล แนะนำการแบ่งกลุ่มข้อมูลด้วยเทคนิค K-Means และ DBScan  การแบ่งกลุ่มข้อมูลทางด้านการศึกษาและการแพทย์ด้วย RapidMiner Studio 8
แนะนำการจำแนกประเภทข้อมูล (classification) การวัดประสิทธิภาพของการจำแนกประเภทข้อมูล แนะนำเทคนิค Linear Regression และการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน Linear Regression ใน RapidMiner Studio 9 แนะนำเทคนิค Naive Bayes และการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน Naive Bayes ใน RapidMiner Studio 9 แนะนำเทคนิค Decision Tree และการประยุกต์ใช้งาน

การใช้งาน Decision Tree ใน RapidMiner Studio 9 แนะนำเทคนิค K-Nearest Neighbours (KNN) และการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน KNN ใน RapidMiner Studio 8 แนะนำเทคนิค Neural Networks และการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน Neural Networks ใน RapidMiner Studio 9 แนะนำเทคนิค Support Vector Machines (SVM) และการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน SVM ใน RapidMiner Studio 9 การจำแนกประเภทข้อมูลในงานด้านต่างๆ ด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์การคัดเลือกแอตทริบิวต์ (attribute selection) และการประยุกต์ใช้ในการจำแนกประเภทข้อมูล Workshop การคัดเลือกแอตทริบิวต์และการจำแนกประเภทข้อมูลในงานด้านต่างๆ การจำแนกประเภทข้อมูลแบบหลายลาเบล (multi-label) การจำแนกประเภทข้อมูลแบบหลายลาเบล


การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลจากเทคนิค classification ต่างๆ และ t-test แนะนำเทคนิคการหาวิธี classification ที่เหมาะสมสำหรับข้อมูลแต่ละชุด (meta-learning) แนะนำการทำ Text Mining ด้วย RapidMiner Studio 9 การจำแนกข้อความที่เป็น spam จาก SMS  การแบ่งกลุ่มข้อมูลจากข้อความรีวิว (Review)  การหากฏความสัมพันธ์จากข้อความรีวิว แนะนำการทำ Image Mining ด้วย RapidMiner Studio 9 การจำแนกรูปภาพออกเป็นประเภทต่างๆ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เพลงแบกฮัก

ເນື້ອເພງ : ດຣສົມພົງສ໌,ai ທຳນອງ - ຮ້ອງໂດຍ : suno   คลิก ฟังเพลงที่นี่ (ท่อนแรก) เอาไปเถอะลูก บ่ต้องซื้อเขากิน ถุงข้าวที่แบกมา เต็มไปด้วยฮักอ้...