วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2561

แนวความคิดสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์"พ.ร.บ.คณะสงฆ์ที่จะช่วยให้พระพุทธศาสนาพ้นภัย"




ตามที่เว็บไซต์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือ www.krisdika.go.th ได้เผยแพร่การรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 เมื่อวันที่ 23 มิ.ย.ที่ผ่านมา โดยให้ส่งความเห็นภายในวันที่ 27 มิ.ย.ส่งผลให้ชาวพุทธทั่วโลกจับการการปฏิรูปพระพุทธศาสนาในประเทศไทยในครั้งนี้ เพราะอยู่ในยุคดิจิทอล 

อย่างเช่นกลางที่ประชุมการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา สมัยสามัญประจำปี ครั้งที่ 42/2561 ณ วัดอตัมมยตาราม เมืองวูดดิ้นวิลล์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 21-24 มิถุนายน พุทธศักราช 2561  โดยวันที่ 22 มิ.ย.ช่วงท้ายของการประชุมมีการแสดงความเห็นของพระธรรทูตจากทวีปต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระธรรมทูตซึ่งเป็นชาวมาเลเซียจำอยู่ที่วัดในประเทศสิงคโปร์โดยได้กล่าวถึงการที่ประเทศไทยมีการปฏิรูปคณะสงฆ์ไทยและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับพระเถระกระทบต่อความรู้สึกของชาวพุทธในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์เป็นอย่างมาก จึงไม่แน่ใจว่าประเทศไทยจะรักษาความเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาไว้ได้หรือไม่

พร้อมกันนี้ชาวพุทธไทยก็มีการแสดความคิดเห็นผ่านสื่อออนไลน์นอกจากนี้มีการเผยแพร่แนวความคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดญาณเวศกวัน จ.นครปฐม สมัยดำรงสมณศักดิ์ที่พระธรรมปิฏกเรื่อง "พ.ร.บ.คณะสงฆ์ที่จะช่วยให้พระพุทธศาสนาพ้นภัย" ทางเฟซบุ๊ก"Uthit Siriwan"















2 ความคิดเห็น:

  1. เห็นว่าพระสงฆ์ปกครองกันเองดีแล้ว เหตุที่วุ่นวายมาจากเรื่องการแต่งตั้งสมเด็ขพระส้งฆราชเรื่อยมา มีการกลั่นแกล้งกล่าวหาอย่างไร้สาระทำให้พระศาสนาวุ่นวาย นี่ยังคิดมาแก้พรบ.สงฆ์อีก จะสร้างบาปกรรมไปถึงไหน ที่พระสงฆ์ปกึรองดูแลกันเดิมๆน่ะดีแล้ว

    ตอบลบ

การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์

  การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์ ในปริบทพุทธสันติวิธี บทนำ พร...