วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
เทิด"5 กระบวนทัศน์ ร.10" สร้างหลักคิดไทย สร้าง "คนดี" นำ "คนเก่ง"
เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2561 ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ร่วมกับองค์กรเครือข่ายสร้างกระบวนทัศน์และหลักคิดที่เหมาะสมสำหรับคนไทย สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน จัดงาน “การสร้างกระบวนทัศน์และหลักคิดที่เหมาะสมสำหรับคนไทย” พร้อมประกาศเจตนารมณ์พันธะสัญญาร่วมกันขององค์กรภาคีเครือข่าย 275 เครือข่าย กว่า 500 คน เพื่อร่วมสร้างกระบวนทัศน์และหลักคิดสำหรับคนไทย
ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “หลักคิดที่เหมาะสมสำหรับคนไทย”
สังคมไทย ความอ่อนโยน มนุษยธรรม กตัญญู ที่อดีตได้รับการยกย่องจากต่างชาติปัจจุบันวิกฤติคุณธรรม
การปรับกระบวนทัศน์ทั้ง 5 ข้อ คือ 1 พอเพียง 2 วินัย 3 สุจริต 4 จิตสาธารณะ 5 รับผิดชอบ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงริเริ่ม ทรงตรัสว่า “การสร้างคนดี ให้แก่บ้านเมืองเป็นเรื่องที่ยากและยาวแต่ก็ต้องทำ” ดังนั้น การเรียนการสอนจะไม่ได้เน้นให้เด็กเก่ง แต่ทำให้เด็กมีน้ำใจ มีจิตอาสา สามัคคี หันมาช่วยเหลือกัน
พระราชทานราโชบายด้านการศึกษา คือ 1 ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง เข้าใจในพื้นฐานของบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และเอื้ออาทรต่อครอบครัวชุมชน 2 พื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดี ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว ช่วยกันสร้างคนดีแก่บ้านเมือง 3 มีอาชีพ มีงานทำ ไม่ใช่เรียนอย่างเดียวแต่ไม่สามารถนำมาปฏิบัติใช้ได้ และ 4 เป็นพลเมืองดี ไ
ศ.กิตติคุณ ดร.เทียนฉาย กีระนันทน์ กรรมการขับเคลื่อนการปฎิรูปเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และประธานคณะอนุกรรมการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 กล่าวว่า เป้าหมายของการพัฒนาคนไทยตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
สมรรถนะทางกาย มีจิตใจและจิตสำนึกที่ดีงาม
ด้านการเรียนรู้ การมีหลักคิด และมีค่านิยมที่ถูกต้อง
ด้าน นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความตระหนักในหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างให้เกิดวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์อย่างทั่วถึง มีความคิดความอ่าน แบบมีเหตุผล เป็นพลเมืองดีที่ตื่นรู้ เชื่อมโยงกับความดีงามตามแนวทางไทยนิยมยั่งยืน มีจิตวิญญาณและสปิริตที่หวังประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติเป็นสำคัญ อันเป็นรากฐานสาคัญของระบอบประชาธิปไตย
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์
การวิเคราะห์ “มหาวรรค” ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุติยปัณณาสก์ ในปริบทพุทธสันติวิธี บทนำ พร...
-
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 พระราชวัชรสารบัณฑิต หรือ “เจ้าคุณประสาร” รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(...
-
วิจารณ์สนั่นหลักสูตรบาลีป.ธ.1-2 ถึงป.ธ. 9 เรียนพระไตรปิฎก 149 หน้า "เจ้าคุณหรรษา" ยกสามเณร 2 รูป หนึ่งจบ ป.ธ. 9 อายุ 17 ปี หนึ่งจบ...
-
พระปิดตายันต์ยุ่งมหาอุตโม หลวงปู่ทิม อิสริโก จัดสร้างเพื่อหารายได้ สร้างหอฉันอุตตโม ออกแบบโดยช่างเกษม มงคลเจริญ ประกอบด้วย เนื้...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น